ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

ผู้แต่ง

  • นาเดียร์ มะนิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
  • รูซีฮัน เจ๊ะนุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
  • ลุกมาน ดุลย์ธารา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองปัตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000

คำสำคัญ:

ปัจจัยเสี่ยง , ผู้สูงอายุ, ภาวะสมองเสื่อม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี จำนวน 2,456 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้เป็นแบบทุติยภูมิ จากฐานข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์ข้อมูลหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตามด้วยการทดสอบไคสแควร์ และ วิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก เพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสมองเสื่อม ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นภาวะสมองเสื่อม คิดเป็นร้อยละ 2.4 ในขณะที่ ร้อยละ 97.6 ได้รับการคัดกรองไม่เป็นภาวะสมองเสื่อม ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ประกอบด้วย ปัจจัยเสี่ยงด้านบุคคล ได้แก่ เพศ กลุ่มอายุ ศาสนา และดัชนีมวลกาย และปัจจัยด้านสุขภาพ ได้แก่ ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) และด้านการเคลื่อนไหว สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสมองเสื่อม คือ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) โดยผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงจะมีโอกาสเสี่ยงเกิดภาวะสมองเสื่อม คิดเป็น 4.61 เท่าของกลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคม

Downloads

References

รัตนา เบ็ญชา, อรนลิน สิงขรณ, วรางคณา สมร่าง, พิมพ์รัตน์ บุณยะภักด, นาตญา พแดนนอก, ประภัสสร ธรรมเมธา, และคนอื่นๆ. ผลของโปรแกรมการบำบัดด้วยความหวังต่อการรับรู้ภาระของญาติผู้ป่วยสมองเสื่อมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2566 จาก https://eslipcro.moph.go.th/research/download/92_20221121_SUCCESS.pdf.

วัลลภา อันดารา, อุบลรัตน์ สิงหเสนี, และปัทมา วงค์นิธิกุล. การศึกษาภาวะสมองเสื่อม ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันโรคสมองเสื่อม. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2559; 8(1): 23-33.

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กรมอนามัย ครบรอบ 71 ปี แนะ 7+1 เทคนิค ป้องกันโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2566 จาก https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/1003662/.

วลี รัตนวัตร์. การศึกษาภาวะสุขภาพจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อมที่มารับบริการโรงพยาบาลขอนแก่น. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา. 2566; 8(2): 442-54.

กรมการปกครอง กระทรวมหาดไทย. โครงสร้างข้อมูลสถิติจำนวนประชากรไทยที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านแยกรายอายุรายเดือน ระดับหมู่บ้าน เดือนสิงหาคม ปี พ.ศ.2556. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2566 จาก https://stat.bora.dopa.go.th/new_stat/webPage/statByMooBan.php?year=56&month=10#.

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดปัตตานี. รายงานสถานการณ์ทางสังคม จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2566 จาก https://www.m-society.go.th/ewtadmin/ewt/mso_web/download/article/article_20211110164810.pdf.

Ministry of Public Health. HDC (Health Data Center). Accessed 20 May 2023 from https://ptn.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report.php?&cat_id=ac4eed1bddb23d6130746d62d2538fd0&id=db4e8d42e1234a75bd03d430c31feb2f.

Ministry of Public Health. HDC (Health Data Center). Accessed 20 May 2023 from https://ptn.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report_indiv.php?from=report&cat_id=6966b0664b89805a484d7ac96c6edc48&id=aa86b13e8cb60cae6c3216b7e3e5f151&byear=2566.

Lee J. The relationship between physical activity and dementia: A systematic review and meta-analysis of prospective cohort studies. Journal of Gerontological Nursing. 2018; 44(10): 22-9. DOI: 10.3928/00989134-20180814-01.

Widagdo TMM, Widyaningsih BD, and Layuklinggi S. Predictors of depression among the elderly persons with disabilities in Indonesia. Journal of Family and Community Medicine. 2023; 30(3): 188-96. DOI: 10.4103/jfcm.jfcm_57_23.

Agnieszka B, Julius B, Rayito RH, Magda T, Joanna W, and Jakub K. Depression in dementia or dementia in depression? Systematic review of studies and hypotheses. Current Alzheimer research. 2020; 17(1) :16-28. DOI: 10.2174/1567205017666200217104114.

นิติกุล บุญแก้ว. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันกับพฤติกรรมป้องกันภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุที่ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2561; 12(3): 213-24.

Livingston G, Huntley J, Sommerlad A, Ames D, Ballard C, Banerjee S, and et al. Dementia prevention, intervention, and care: 2020 report of the Lancet Commission. 2020; 396: 413-46. DOI: 10.1016/S0140-6736(20)30367-6.

ชนันท์วัลย์ วุฒิธนโภคิน, ปาริชาติ อ้นองอาจ, และพนิดา ไชยมิ่ง. ผลการฝึก Brain Gym ต่อการทรงตัวการประสานสัมพันธ์การรับรู้ และคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2563; 26(1): 68-82.

Rebecca AN, Neelum TA, Lisa LB, Aimee G, Jill MG, Kejal K, and et al. Understanding the impact of sex and gender in Alzheimer's disease: A call to action. Alzheimer's & Dementia. 2018; 14(9): 1171-83. DOI: 10.1016/j.jalz.2018.04.008.

Gannon OJ, Robision LS, Custozzo AJ, and Zuloaga KL. Sex differences in risk factors for vascular contributions to cognitive impairment & dementia. Neurochemistry International. 2018; 127: 38-55. DOI: 10.1016/j.neuint.2018.11.014.

จุไรรัตน์ ดวงจันทร์, ดวงหทัย ยอดทอง, และพิศสมร เดชดวง. ความชุกและปัจจัยทํานายภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. 2063; 3(2): 133-48.

อาทิตยา สุวรรณ์, และสุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค. ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 2559; 5(2): 21-32.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

10-10-2023

How to Cite

มะนิ น., เจ๊ะนุ ร., & ดุลย์ธารา ล. . (2023). ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. วารสารการศึกษาและวิจัยการสาธารณสุข, 2(1), 64–78. สืบค้น จาก https://so12.tci-thaijo.org/index.php/JERPH_Yala/article/view/669