การพัฒนาระบบการให้บริการแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาลในพื้นที่เกาะ
คำสำคัญ:
การแพทย์แผนไทย , คุณภาพบริการ , ระบบการให้บริการ , ระบบสุขภาพบทคัดย่อ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพการแพทย์แผนไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การบริการแพทย์แผนไทย มีคุณภาพได้มาตรฐาน พัฒนาศักยภาพ ส่งเสริมระบบส่งต่อมีความจำเป็นอย่างมาก เพื่อให้ผู้รับบริการเข้าถึงและได้รับการให้บริการแพทย์แผนไทยและตอบสนองแนวโน้มความเปลี่ยนแปลงของสังคมและประชากร ตลอดจนความต้องการด้านสุขภาพของประเทศได้ทันท่วงที โดยมีกรอบการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ภายใต้หลักการเครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อที่ใช้การวิจัยและพัฒนามาใช้เชื่อมโยงบริการระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิเข้าด้วยกัน ซึ่งเพิ่มประสิทธิภาพ ในการดูแลระบบบริการสุขภาพประชาชน ซึ่งต้องมีการบริหารจัดการทั้งในเรื่องของระบบการบริการ ระบบส่งต่อ ระบบการตรวจรักษาด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อให้มีระบบการให้บริการแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาลในพื้นที่เกาะมีคุณภาพมาตฐานที่เหมาะสมและก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้มารับบริการอย่างสูงสุด
Downloads
References
World Health Organization. Monitoring the building blocks of health system : A handbook of indicators and theirmeasuremnent strategies. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 จาก http://www.who.int /healthinfo/systems/monitoring/en/
ธีรพร สถิรอังกูร. การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขกับกลไกการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลเขตบริการสุขภาพในระยะเปลี่ยนผ่าน. วารสารกองพยาบาล. 2566; 40(3): 1.
สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ. การสาธารณสุขไทย 2551-2553. กรุงเทพฯ, สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. 2554.
กิจดี ยงประกิจ. การรับรู้คุณภาพการให้บริการของผู้ใช้บริการบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ ความชำนาญและรูปแบบการคิดของผู้ประกอบการธุรกิจบูติก โฮเต็ลที่ได้รับรางวัลในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2559.
วิณารัตน์ ภูวพัฒน์ชัยกิจ. คุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการชาวไทย [สารนิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ; 2559.
Parasuraman A, Zeithaml, VA, and Berry LL. A Conceptual Model of Service Quality and Its Implications for Future Research. Journal of Marketing. 1985; 49(4): 41–50. DOI : 10.2307/1251430
Adslthailand. โรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital) กำลังจะเกิดขึ้นจริง เสริมทัพการดูแลสุขภาพให้ฉลาดล้ำด้วยการนํา IoTและ RFID เข้ามาใช้. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 จากhttp://www.adslthailand. com/post/5321
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. แนวคดิในการบริหารราชการยุคใหม่ Lean Government. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 จาก http://www.opdc. go.th/oldweb/thaiENewsletter/ June45/Lean.html
ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556. เล่ม 130 ตอนที่ 10 ก. หน้า 1. 2556.
สถาบันการแพทย์แผนไทย. มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.). กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. 2556.
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย. ถอดบทเรียนการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://kb.hsri.or.th/dspace/bitstream/handle/11228/4278/hs2170.pdf?sequence=3&isAllowed=y
โชติษา แก้วเกษ. คุณภาพบริการตามความคาดหวังและที่ได้รับจริงของผู้รับบริการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 2556; 11(1): 40-53.
กรกช อินทอง. รูปแบบการให้บริการสุขภาพด้วยการแพทย์แมนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลกรณีศึกษาจังหวัดตรัง [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2559.
Elsenberg DM, Davis RB, Ettner SL, Appel S, Wlkey S, Rompay MV, and et al. Trends in alternative medicine use in the United States, 1990-1997: results ofa follow-up national survey, JAMA. 1998; 280(18): 1569-75. DOI : 10.1001/jama.280.18.1569
Chan E, Zhan C, and Homer CJ. Health care use and costs for children with attention-deficit/hyperactivity disorder: national estimates from the medical expenditure panel survey. Archives of pediatrics & adolescent medicine. 2002; 156(5): 504–11. DOI : 10.1001/archpedi.156.5.504
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารการศึกษาและวิจัยการสาธารณสุข
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.