คุณสมบัติของผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม

Main Article Content

ปรัชญา บุตรสะอาด
พระใบฎีกาชาญชัย อคฺคธมฺโม

บทคัดย่อ

บทความทางวิชานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติของผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม ๗ การเป็นผู้นำนั้นเป็นได้ไม่ยาก แต่การที่จะเป็นผู้นำที่ดีให้ได้นั้นต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ของการบังคับบัญชา ผู้นำ คือ ผู้ที่มีบุคลิกลักษณะคุณสมบัติเด่นกว่าผู้อื่นในกลุ่มและมีอิทธิพลมากกว่าบุคคลอื่นในหน่วยงาน ทั้งสามารถสร้างความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้เกิดขึ้นแก่หน่วยงานได้ ดังนั้น ผู้นำ จึงหมายถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งรับบทบาทเป็นผู้บริหารประสานประโยชน์ในกลุ่มเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่ม มีอิทธิพลและอำนาจสามารถบังคับบัญชาบุคคลในกลุ่มให้ปฏิบัติงานจนบรรลุผลตามเป้าหมายที่องค์การกำหนดไว้ได้ พระพุทธศาสนาให้ความสำคัญเกี่ยวกับตัวผู้บริหารหรือผู้นำในการบริหารนี้มาก ผู้นำจะต้องประกอบด้วยลักษณะ ดังนี้คือ จักขุมา คือ เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลมองสภาพเหตุการณ์ออกและจะวางแผนเตรียมรับหรือรุกได้อย่างไร วิธุโร คือ เป็นผู้ชำนาญในงานรู้จักวิธีการในหน้าที่ที่ตนได้รับผิดชอบ นิสสยสัมปันโน คือ เป็นผู้ที่มีมนุษย์สัมพันธ์ดีและได้รับความเชื่อถือจากผู้อื่น เข้าใจบุคคลหรือผู้ใต้บังคับบัญชาได้เป็นอย่างดี

Article Details

How to Cite
บุตรสะอาด ป., & อคฺคธมฺโม พ. (2025). คุณสมบัติของผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม . วารสารปราชญ์ประชาคม, 3(1), 58–69. สืบค้น จาก https://so12.tci-thaijo.org/index.php/watmahasawat_jsc/article/view/1711
บท
บทความวิชาการ

References

กิติมา ปรีดีลก. (2520). ทฤษฎีบริหารองค์การ. สำนักพิมพ์ดวงกมล.

คุณสมบัติ “การเป็นผู้นำที่ดี”. (2567). https://www.mindspringconsulting.com/good-leadership/

ฐิติณัฐ ปรุงชัยภูมิ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ).

ธงชัย สิงอุดม. (2559). การนำหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเป็นเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร. http://www.slideshare.net/pentanino/ss-27631253.

ปรียาภรณ์ เรืองเจริญ. (2560). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต 2. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ).

ปัญญานันทภิกขุ. (ม.ป.ป). หัวใจคนดี. สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

พจนานุกรมพระพุทธศาสนา. (2553). ฉบับการ์ตูน. สำนักพิมพ์สกายบุ๊กส์.

พระถนัด วฑฺฒโน (บุตรสวัสดิ์). (2567). การวิเคราะห์คุณสมบัติของผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7. https://kanchanaburiwatmaicharoenphol.blogspot.com/ p/10082010-view-3482-leader-of-good-man.html.

พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตฺโต). (2532). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 12). สำนักพิมพ์สหธรรมิก.

พระเปลี่ยน ปญฺญาปทีโป. (2552). สัปปุริสธรรม 7 อย่าง. สำนักพิมพ์สุภา.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 20). สำนักพิมพ์สหธรรมิก.

พระสามารถ อานนฺโท. (2548). ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม. (ปริญญานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย).

ภาวะผู้นำที่ดีในองค์กรยุคใหม่. (2567). https://www.disruptignite. com/blog/leadership-skill.

มะการิง หวัง. (2560). ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลในองค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี. (การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดปทุมธานี).

มารุต พลอัน. (2559). พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 1. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ. (2509). “สัปปุริสธรรม” หนังสืออนุสรณ์เนื่องในโอกาสงานฌาปนกิจศพ นายชัย. กรุงเทพฯ.

สรวุฒิ แก้วปุ๋ย. (2560). ภาวะผู้นำและการจูงใจที่มีส่งผลต่อประสิทธิผลของงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2”. (การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองการศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา).

สุธิกานต์ บริเอก. (2564). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร).

สุนทร โคตรบรรเทา. (2560). ภาวะผู้นำในองค์การสถานศึกษา. ปัญญาชน.

สุวรรณนา มีเดช. (2556). การบริหารงานบุคคลตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอ ตาคลี จังหวัดนครสวรรค์. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

อรอนงค์ กลางนภา. (2561). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำทางการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 3. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร).

Andrew, W. H. (1998). Theory and research in administration. MacMillian Company.

Bennis, W. (1985). Leaders: The strategies for taking change. Harper and Row Publishers.

Halpin, T. B. (1966). Theory and research in administration. MacMillian Company.

Neagley, R. L. (1969). The school administrator and learning resources: A handbook for effective action. Prentice Hall.