การสืบสานภูมิปัญญามรดกวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นลังกาสุกะบนแผ่นดินปลายด้ามขวานทองของไทย

Main Article Content

รณภพ นพสุวรรณ
จันทิมา เขียวแก้ว
สุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลจำนวน 23 คน เพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมอาหารลังกาสุกะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้หรือแผ่นปลายด้ามขวานทอง ได้แก่ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาสเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหาร พบว่า ลังกาสุกะเป็นดินแดนที่มีอายุกว่า 1900 ปี ในคาบสมุทรแหลมมาลายู และเป็นแหล่งรวบรวมการผสมผสานวัฒนธรรมอาหารและภูมิปัญญาด้านอาหารจากหลากหลายชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชวา อินเดีย เปอร์เซีย อาหรับ โปรตุเกส จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น เกิดเป็นการผสมผสานวัฒนธรรมอาหารระหว่างชนพื้นเมืองกับชนชาติต่าง ๆ ที่เข้ามาติดต่อค้าขายเมื่อครั้งอดีต ทำให้ดินแดนปลายด้ามขวานทองมีอัตลักษณ์อาหารจากการปรุง การเตรียม วัตถุดิบและเครื่องเทศที่ปรุง แต่งกลิ่นอาหารและทำให้เกิดเป็นโภชนาการทีมีประโยชน์จากอินเดีย ชวา มีการอบขนมด้วยพิมพ์ทองเหลืองจากชาวโปรตุเกส มีการดื่มชาแบบชาวจีน และการเปลี่ยนถ่ายความเชื่อดั้งเดิมจากศาสนาพุทธมาเป็นความศรัทธาต่อศาสนาอิสลามที่เข้ามามีอิทธิพลในการดำเนินชีวิตจนถึงปัจจุบัน เกิดเป็นอัตลักษณ์อาหารลังกาสุกะในศาสนพิธีตามความเลื่อมใสของแต่ละศาสนา และแตกต่างกันไปตามฤดูกาล   

Article Details

How to Cite
นพสุวรรณ ร., เขียวแก้ว จ., & เปลี่ยนรุ่ง ส. (2023). การสืบสานภูมิปัญญามรดกวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นลังกาสุกะบนแผ่นดินปลายด้ามขวานทองของไทย . วารสารปราชญ์ประชาคม, 1(1), 72–82. สืบค้น จาก https://so12.tci-thaijo.org/index.php/watmahasawat_jsc/article/view/162
บท
บทความวิจัย

References

ชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ, และมีนา ระเด่นอาหมัด. (2564). การสื่อสารวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านชายแดนใต้ของ ไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 13(2), 177-189.

ฐิติวรฎา ใยสำลี, สุรีย์พร ธัญญะกิจ, จุฑารัตน์ ศักดิ์มั่นวงศ์, และนพพร แพทย์รัตน์. (2562). “แกงฮังเล” วัฒนธรรม และความเชื่อ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(2), 172-186.

ทรงสิริ วิชิรานนท์, พจนีย์ บุญนา, และจงทิพย์ อธิมุติสรรค์. (2555). วิถีชีวิตและความมั่นคงทางอาหารภาคใต้. วารสารวิจัยและวิชาการ มทร.พระนคร, 8(1). 94-107.

นิปาตีเมาะ หะยีหามะ, ประสิทธิ์ รัตนมณี, บุญเจริญ บำรุงชู, นราวดี โลหะจินดา, ขวัญเรือน บุญกอบแก้ว, และจิดาพร แสงนิล. (2562). การจัดการทางวัฒนธรรมการอนุรักษ์ สืบสานอาหารพื้นบ้านตำบลประจัน. http://culture.pn.psu.ac.th/research2//files/ack20200203105150.pdf

นูรอา สะมะแอ, และนันทนา วงษ์ไทย. (2560). การศึกษาคำเรียกการทำอาหารหวานในภาษามลายูปาตานีเชิงอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 9(2), 140-164.

อับดุลลอฮฺ ลออแมน, และอารีฟิน บินจิ. (2541). ลังกาสุกะ ปาตานี ดารุสสลาม. โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.

อารีฟิน บินจี, อับดุลลอฮฺ ลออแมน และซูฮัยมีย์ อิสมาแอล. (2558). ปาตานี ประวัติศาสตร์และเมืองในโลกมลายู. มูลนิธิอิสลามภาคใต้.

Barker, C. (2000). Cultural studies: Theory and practice (2nd ed.) SAGE.

Clarke, S. (2008). Culture and identity. In T. Bennett, J. Frow (Eds.), The sage handbook of cultural analysis (pp. 510-529). SAGE.

Grimaldi, P., Fassino, G., & Porporato, D. (2019). Culture, heritage, identity, and food: A methodological approach. the European Union European Regional Department Fund.

Grimson, A. (2010). Culture and identity: Two different notions. Social identities, 16(1), 61-77.

Hall, C. M., Johnson, G., & Mitchell, R. (2009). Wine tourism and regional development. In C. Michael Hall (Ed.) Wine tourism around the world: Development, management, and markets, (pp. 196-225). Elsevier.

Hashemi, S., Mohammed, H. J., Kiumarsi, S., Kee, D. M. H., & Anarestani, B. B. (2021). Destinations food image and food neophobia on behavioral intentions: Culinary tourist behavior in Malaysia. Journal of international food & agribusiness marketing, 35(1), 1-22.

Michael Dietler. (2006). Archaeologies of colonialism: Consumption, entanglement, and violence in ancient Mediterranean France. University of California press.

Michael Dietler. (2007). Culinary encounters: food, identity, and colonialism. In K. Twiss (Ed.) The archaeology of food and identity, (pp. 218-242). University of Southern Illinois.

Polat, S., & Aktaş-Polat, S. (2020). Transformation of local culinary through gastronomy tourism. Sosyoekonomi, 28(43), 243-256.