การศึกษาเชิงวิเคราะห์สุขภาวะทางปัญญาตามหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง

Main Article Content

อิทธิศักดิ์ เลอยศพรชัย

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สุขภาวะทางปัญญาตามหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลางรูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์เนื้อหา และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สุขภาวะทางปัญญาตามหลักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง เป็นความสุขที่เกิดจากวิจารณญาณ ได้แก่ สร้างสรรค์ ปรับตัว ร่วมมือ และแสวงหา ในระดับพื้นฐานเป็นความสุขที่เกิดจากการไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ในระดับกลางเป็นความสุขจากการสงเคราะห์เกื้อกูลตนเองและผู้อื่นโดยธรรม ในระดับสูงเป็นความสุขที่เกิดจากที่เกิดจากแก้ปัญหาได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและผู้อื่นได้ด้วยวิจารณญาณ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

อิทธิศักดิ์ เลอยศพรชัย, ศูนย์พอเพียงศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ปรีชญาดุษฎีบัณฑิต (ปรัชญาและจริยศาสตร์)

References

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และนภนาท อนุพงศ์พัฒน์. (2560). สุขภาพทางปัญญา: จิตวิญญาณ ศาสนาและความเป็นมนุษย์. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.

ชมพู โกติรัมย์, พันยา เขียวบุญจันทร์, สุรีพร เขียวบุญจันทร์, สุปัญญา จันทร์ศรี. (2563). ศึกษาพุทธธรรมเพื่อสังเคราะห์เป็นรูปแบบเสริมสร้างสุขภาวะทางปัญญา: กรณีศึกษาวัดป่าเจริญราช อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 8(4), 120-133.

ดวงฤทัย ตี่สุข, เมธี เมธีสวัสดิ์กุล, พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์. (2565). แนวทางการออกแบบปรับปรุงสภาพ แวดล้อมทางกายภาพภายในที่พักอาศัยที่ส่งเสริมสุขภาวะทางกาย จิตใจและปัญญาของผู้สูงอายุตามแนวคิดการออกแบบเพื่อทุกคน. วารสารวิชาการสถาปัตยกรรมศาสตร์, 75, 73-90.

ทรงยศ สาโรจน์. (2565). การส่งเสริมโรงเรียนสุขภาวะในโรงเรียนขนาดเล็ก ด้วยกระบวนการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารสังคมพัฒนศาสตร์, 5(1), 44-57.

ธนันต์ชัย พัฒนะสิงห์, พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ, พระครูพิพิธปริยัติกิจ และลำพอง กลมกู. (2561). โมเดลของความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ส่งผลต่อสุขภาวะทางปัญญาของวัยรุ่น. วารสารสันติศึกษา ปริทรรศน์ มจร, 6(sp1), 406-417.

ปมณฑ์ณัฐ จงวัฒนานุกูลกิจ, สิริวัฒน์ ศรีเครือดง, ลำพอง กลมกูล. (2563). รูปแบบพุทธจิตวิทยาเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะทางปัญญาของจิตอาสาในกลุ่มผู้ปฏิบัติธรรม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(1), 185-196.

ประเวศ วะสี. (2552). สร้างคุณค่าความเป็นคน สร้างสุขภาพชุมชนให้เข้มแข็ง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท คิวทีพี.

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์. (2552). 19 ปุจฉา พัฒนาจิตวิญญาณ. กรุงเทพฯ: แผนงานพัฒนาจิตเพื่อสุขภาพ มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

พระภูชิสสะ ปญฺาปโชโต. (2562). การเสริมสร้างสุขภาวะตามหลักภาวนา 4 ของผู้สูงอายุในตำบลยางฮอม อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 4(1), 49-63.

พระมหาประยูร โชติวโร (คำมา), ปฏิธรรม สำเนียง, นงลักษณ์ ยอดมงคล และชาลีมาศ ตันสุเทพวีรวงศ์. (2565). สุขภาวะองค์รวมเชิงพุทธของพระสงฆ์: นโยบาย สิทธิประโยชน์ และรูปแบบการเกื้อกูลต่อชุมชนในสังคมไทย. วารสารวิจยวิชาการ, 5(4), 1-12.

ไพฑูรย์ สวนมะไฟ, พระมหาคมคาย สิงห์ทอง และรมิดา สวนมะไฟ. (2565). การส่งเสริมสุขภาวะองค์รวมแนวพุทธในโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์, 7(1), 141-151.

มนตรี หลินภู, นฤมล พระใหญ่, อัจศรา ประเสริฐสิน, ประทีป จินงี่. (2565ก). รูปแบบการให้คำปรึกษากลุ่มตามแนวสติปัฏฐาน เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะทางปัญญาตามหลักพุทธธรรมของผู้ต้องขัง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 10(2), 693-705.

มนตรี หลินภู, นฤมล พระใหญ่, อัจศรา ประเสริฐสิน, ประทีป จินงี่. (2565ข). การวิเคราะห์องค์ประกอบสุขภาวะทางปัญญา ตามหลักพุทธธรรมของผู้ต้องขังคดียาเสพติด. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 22(4), 15-28.

รัตติกรณ์ จงวิศาล และคณะ. (2561). จิตวิทยาองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เลอลักษณ์ มหิพันธุ์, ชนัดดา แนบเกษร, ดวงใจ วัฒนสินธุ์. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาวะทางปัญญาของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 31(2), 29-42.

สุรชาติ ณ หนองคาย. (2561). สุขภาพจิตวิญญาณ สุขภาพทางปัญญาและความรอบรู้ด้านสุขภาพเหมือนหรือต่างกันอย่างไร. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 4(1), 1-7.

เสาวภา เล็กวงษ์, วรรณรัตน์ ลาวัง, สมสมัย รัตนกรีฑากุล. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาวะทางปัญญาของญาติผู้ดูแลคนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 30(1), 102-112.

อนุสรณ์ แน่นอุดร, พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์, ยชญ์รวินทร์ จรบุรมย์, อุบลวนา ขวัญบุญจันทร์, นพภัสสร วิเศษ, วรรัตน์ มากเทพพงษ์, รัชพร ศรีเดช, จิราวรรณ ศิริโสม, เมธี เมธีสวัสดิ์กุล และดวงฤทัย ตี่สุข. (2564). การพัฒนาออกแบบที่พักอาศัยเสริมสร้างสุขภาวะทางปัญญาในผู้สูงอายุ. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 38(4), 482-490.

อารยา พรายแย้ม และคณะ. (2552). การสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตปัญญา (วิญญาณ) จากเรื่องเล่า ความสำเร็จของผู้ให้บริการและผู้รับบริการในระบบสุขภาพ. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสด.