กลยุทธ์การวางแผนงานด้านวิชาการยุคดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

Main Article Content

วินิดา ทองกลอง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้กลยุทธ์การวางแผนงานด้านวิชาการยุคดิจิทัล ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองชะอา จังหวัดเพชรบุรี และ (2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้กลยุทธ์การวางแผนงานด้านวิชาการยุคดิจิทัล ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองชะอา จังหวัดเพชรบุรี จาแนกตามอายุและประสบการณ์ทางาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้อานวยการสถานศึกษาจานวน 5 คน รองผู้อานวยการสถานศึกษาจานวน 5 คน ครูปฏิบัติราชการแทนผู้อานวยการสถานศึกษาจานวน 1 คน และครูผู้สอนจานวน 235 คน รวมทั้งสิ้น 246 คน ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจานวน 153 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามจานวน 1 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบ F-test ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การวางแผนงานด้านวิชาการยุคดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองชะอา จังหวัดเพชรบุรี ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า อายุแตกต่างกันความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การวางแผนงานด้านวิชาการยุคดิจิทัล ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองชะอา จังหวัดเพชรบุรีในภาพรวมแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 และประสบการณ์การทางานแตกต่างกันความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การวางแผนงานด้านวิชาการยุคดิจิทัล ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองชะอา จังหวัดเพชรบุรีในภาพรวมแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมล นามเทวี. (2556). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ในเขตจอมทอง สังกัด

กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี

กรณัฏฐ์ ตาแปง. (2563). บทบาทภาวะผู้นาทางการศึกษาของผู้บริหารยุคดิจิทัลในโรงเรียนขยายโอกาส

ทางการศึกษา กลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาแม่สลองใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษา เชียงราย เขต 3. (การค้นคว้าอิสระการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยพะเยา.

กู้เกียรติ แดงสีดา. (2563). แนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสานักงาน

เขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1. (ม.ป.ท)

เพ็ญจันทร์ สินธุเขต. (2560). การศึกษายุคนี้ (ยุคดิจิทัล) : Thailand 4.0. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎลาปาง 3.

ฟาฏินา วงศ์เลขา. (2558). สพฐ. การจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล. เดลินิวส์. สืบค้นจาก

https://www.dailynews.co.th/education/358284/

ยืน ภู่วรวรรณ. (2557). “ความท้าทาย ณ ขอบแดนใหม่แห่งการเรียนรู้: การศึกษาระบบ 4.0 (Challenges

of New Frontier in Learning : Education 4.0).” ใน งานสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ขอบแดนใหม่

แห่งการเรียนรู้ : การศึกษาระบบ 4.0 (New Frontier of Learning :Education 4.0). วันพุธที่ 1

พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ณ โรงแรมดุสิต

ธานี กรุงเทพมหานคร.

รัฐสยาม วงษ์ยี่. (2559). การบริหารงานวิชาการของครู. อาจารย์วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ เขตหลัก

สี่ กรุงเทพมหานคร.

รัตนาภรณ์ บารุงวงศ์. (2560). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของครูในโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย

สถานศึกษาที่ 13 และ 14 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3.

(ม.ป.ท.)

วิจารณ์ พานิช. (2560). เส้นทางสู่คุณภาพการศึกษายุคประเทศไทย ๔.๐. ใน การประชุมเชิง วิชาการ

ทางการ ศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 4. มหาวิทยาลัยวงษ์เชาวลิตกุล ศูนย์ประชุมสตาร์เวลล์ จังหวัด

นคราชสีมา, นครราชสีมา

วิรัช ปัณฑ์ศิริโรจน์. (2559). Education 4.0. สืบค้นจาก https://www.applicadthai.com/articles/ education-

-0/.

สงบ อินทรมณี. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและ

เทคโนโลยนีอีสเทิร์น, 16(1), 62-71.

สุชาดา ศิริสุวรรณ. (2554). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษา

อาเภอเบตง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15. (วิทยานิพนธ์การบริหาร

การศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา.