การจัดการพัฒนาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
Main Article Content
บทคัดย่อ
(2) ด้านเปรียบเทียบการจัดการพัฒนาแรงจูงใจการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานคณะกรรมการ
การเลือกตั้งจำแนกด้วยลักษณะประชากร พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
(3) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการพัฒนาแรงจูงใจการปฏิบัติราชการของบุคลากร สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งกับปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการพัฒนาแรงจูงใจเป็นเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
Article Details
References
จุฑามาศ อ้วนแก้ว และกิ่งกาญจน์ นาคแก้ว.(2564). หลักการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงานของ พนักงานบริษัท อาร์ วี คอนเน็กซ์ จำกัด. วารสารวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 3(1), หน้า 109-119.
ตรีพร ชุมตรี. (2548). การศึกษาแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองของพยาบาลในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.
ปริญญานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2553). การจัดการสมัยใหม่ (Modern Management). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป
จำกัด.
ปัญญาพร ฐิติพงศ์. (2559). แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในบริษัท
ก่อสร้าง : กรณีศึกษา บริษัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพิร์ท คอนสตรัคชั่น.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ:
นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
วรรณิสา แย้มเกษ. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาตนเองในการทำงานของพนักงานธนาคาร
สายลูกค้าบุคคลของธนาคารเอกชนแห่งหนึ่ง. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, กรุงเทพมหานคร.
Domjan, M. (1996). The Principles of Learning and Behavior Belmont. California: Thomson
Wadsworth.
Mayo, E. (1933). The Human Problems of an Industrial Civilization. Boston: Harvard Business School.
Mondy, Noe and Premeaux. (1999). Human resource management. Upper Saddle River, NJ: Prentice
Hall.
Louis A. Allen. (1958). Management and Organization. New York: McGraw-Hill.