การพัฒนาคู่มือการจัดกิจกรรมทางกายสำหรับนักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

Main Article Content

อังศุมาลิน ติดตระกูลชัย
ปรียาภรณ์ คงแก้ว

บทคัดย่อ

              การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) พัฒนาคู่มือการจัดกิจกรรมทางกายสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 2) ประเมินคู่มือการจัดกิจกรรมทางกายสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มีขั้นตอนการวิจัย 2 ดังนี้ 1) พัฒนาคู่มือการจัดกิจกรรมทางการ 2)ประเมินคู่มือการจัดกิจกรรมทางกาย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ได้มาโดยการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น 1) แบบประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อคู่มือการจัดกิจกรรมทางกาย 2)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้คู่มือการจัดกิจกรรมทางกาย  ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดย วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบียนมาตรฐาน เป็นรายข้อ และนำเสนอเป็นตารางประกอบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า


              คู่มือการจัดกิจกรรมทางกายสำหรับนักศึกษา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มีองค์ประกอบดังนี้  หน้าปกคู่มือ คำนำ สารบัญ คำแนะนำในการใช้คู่มือวัตถุประสงค์ ประโยชน์ของคู่มือ ส่วนประกอบของคู่มือ เนื้อหา สื่อ และ แหล่งข้อมูลเพื่อศึกษาเพื่อเติม ผลการประเมินความเหมาะสมของคู่มือในการนำคู่มือไปใช้ ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นโดยรวมว่า คู่มือความเหมาะสมในการนำไปใช้อยู่ในระดับมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย =4.76) และผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้คู่มือการจัดกิจกรรมทางกาย พบว่า โดยรวมมีระดับความพึงพอใจของผู้ใช้คู่มืออยู่ในระดับมากที่สุด (มีค่าเฉลี่ย =4.76)

Article Details

How to Cite
ติดตระกูลชัย อ., & คงแก้ว ป. . (2024). การพัฒนาคู่มือการจัดกิจกรรมทางกายสำหรับนักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. วารสารการบริหารการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษา, 4(2), 105–115. https://doi.org/10.2822.EAI202421442
บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ ศิรินิมิตรกุล. (2553). การพัฒนาคู่มือการควบคุมคุณภาพสินค้าบริษัทเจเนซิสแอสโซซิเอทจำกัด. วิทยานิพนธ์

ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). นนทบุรี. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2564). กรมอนามัยเผยเด็กไทยอ้วนเปิดอาหารชูสุขภาพเสริมออกกำลังกายป้องกัน.

สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2567 จาก https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/news0633-2/

กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2561). คู่มือข้อเสนอแนะกิจกรรมทางกายและการจัด

สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายเด็กสำหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย. นนทบุรี:บริษัทเอ็นซีคอน

เซ็ปต์จำกัด.

เกษม นครเขตต์ และ อัจฉรา ปุราคม (2554). ความเคลื่อนไหวระดับสากล : หลักและแนวทางการจัดกิจกรรมทางกายเพื่อ

สุขภาพ. วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการ. 3(3). 71 - 76.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: เบรน-เบส บุ๊คส์

คณะกรรมการพัฒนาแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย. (2560). แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (พ.ศ. 2561–2573).

กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. เอ็มซี คอนเซ็ปต์ จำกัด.

จิราพร โสตรโยม. (2555). การพัฒนาคู่มือการนิเทศภายในโรงเรียนยุวศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สุราษฎร์ธานี.

ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK). (2565). ความจำเป็นสำหรับการส่งเสริม “ความรอบรู้ทาง

กาย (Physical literacy: PL)” ให้กับคนไทยทุกกลุ่มวัย. ศูนย์พัฒนาองค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศ

ไทย (TPAK), สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2567, จาก

https://tpak.or.th/backend/print_media_file/551/Research_Brief_S&P.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20ปี (พ.ศ. 2560 - 2579).

สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2567, จาก http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/52/lawguide/

law1/6.pdf.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3-5ปี แนวสำหรับผู้ดูแลเด็กครู

และอาจารย์. กรุงเทพฯ: บริษัทแปลนฟอร์คิดส์ จำกัด.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). รายงาน

ผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2563.

สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2567, จาก http://academic.obec.go.th/web/document/view/167

สุวิทย์ มูลคำ. (2550). ครบเครื่องเรื่องการคิด. (พิมพ์ครั้งที่9). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

สุเทพ ไชยวุฒิ. (2560). การพัฒนาคู่มือการบริหารจัดการงานวิชาการของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

อัจฉรียา กสิยะพัท. (2564). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายสำหรับนักเรียนปฐมวัยอายุ 2-5ปีที่มีต่อการ

พัฒนาสมรรถภาพทางกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และปัญญา เพื่อนำไปสู่การมีความสามารถในการปฏิบัติ

กิจกรรมทางกาย. วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่, 21(3), 49-6

Glatthorn, A. A.; & Fox, L. E. (1996) . Quality Teaching Through Professional Development. California:

Corwin Press,Inc.