การพัฒนารูปแบบการบริหารชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก สู่คุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนวัดยางงาม (ประชาพัฒนา) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1

Main Article Content

ณัฐมนต์ พงษ์พิชญปัญญา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบ 2) สร้างรูปแบบฯ 3) ทดลองใช้รูปแบบฯ และ 4) ประเมินรูปแบบฯ 1 เป็นการวิจัยและพัฒนาผสมผสานของการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ วิธีดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอน ที่1) วิเคราะห์องค์ประกอบ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ผู้บริหาร ครู 400 คน เครื่องมือที่ใช้  ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ,แบบสอบถาม  ขั้นตอน ที่ 2) สร้างรูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้  แบบตรวจสอบรูปแบบและคู่มือ ขั้นตอนที่ 3) ทดลองใช้รูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย คือ ศึกษานิเทศก์ 1 คน ครูผู้สอน 8 คน รวม 9 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรม,แบบบันทึกผลงาน  ขั้นตอนที่ 4) การประเมินรูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริหาร 1 คน ครูผู้สอน 8 คน ศึกษานิเทศก์ 1 คน ตัวแทนคณะกรรมการสถานศึกษา 1 คน ตัวแทนผู้ปกครอง คน 8 คน รวม 19 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่  แบบบันทึก,แบบประเมินรูปแบบ, แบบประเมินความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ วิเคราะห์เนื้อหา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ  ผลการวิจัยพบว่า


1) วิเคราะห์องค์ประกอบได้ 7 องค์ประกอบ ประกอบด้วย การมีส่วนร่วม การนิเทศติดตาม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาวะผู้นำ ภาคีเครือข่ายการจัดการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ 2) รูปแบบและคู่มือการ มีความเหมาะสม 3) ผลการพัฒนาหลังการใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนใช้ตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีผลงานเกียรติบัตรรางวัลเพิ่มขึ้น 4) ผลการประเมินรูปแบบ พบว่า 1) ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเพิ่มสูงขึ้น 2) รูปแบบมีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก ความเป็นประโยชน์ และ 3)ความพึงพอใจต่อการดำเนินงาน อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

How to Cite
พงษ์พิชญปัญญา ณ. (2024). การพัฒนารูปแบบการบริหารชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก สู่คุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนวัดยางงาม (ประชาพัฒนา) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษา, 4(2), 1–16. https://doi.org/10.2822.EAI202421327
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

กัสมัสห์ อาแด. (2561). การพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้วยกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบร่วมมือร่วมพลัง ในโรงเรียนประถมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิจัยวัดผลและสถิติการศึกษา). มหาวิทยาลัยบูรพา.

กิ่งแก้ว ภูทองเงิน. (2561). รูปแบบการพัฒนาครูตามแนวคิดชุมชนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะของนักเรียนระดับประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

จุฑามาศ เพิ่มพูนเจริญยศ.(2561). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกผ่านห้องเรียนอัจฉริยะ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลไทรโยค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2558). ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. เอกสารประกอบการบรรยาย ณ วิทยาลัยชุมชนพังงา จังหวัดพังงา. กรุงเทพมหานคร: มปท.

ชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2560). แนวคิดเกี่ยวกับนตักรรมการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นํา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ธีรยุทธ รุจาคม. (2561). การดำเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่ม 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยพะเยา.

นพพร พรมแพง. (2561). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูโดยปัจจัยชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาพอเพียง ที่มีต่อผลลัพธ์และภาพความสำเร็จโรงเรียนจุมจังอุปกรณ์เจริญเวทย์ ปีการศึกษา 2561. กาฬสินธุ์: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3.

ประจักษ์ ยอดเมิน. (2563). แนวทางการดำเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 (หนองบัวลำภู). วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารและพัฒนาการศึกษา). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปิยณัฐ กุสุมาลย์. (2560). แนวทางการพัฒนาครูโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการ จัดการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา).

มหามหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2556). การจัดทำยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. [ออนไลน์]. สืบค้นวันที่ 6 มิถุนายน 2564

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. (6 เมษายน 2560). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, น. 14.

เรวดี ชัยเชาวรัตน์. (2558). วิถีสร้างครูสู่ศิษย์ : ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ : เอกสารประมวล แนวคิดและแนวทางพัฒนาวิชาชีพครูสำหรับคณะทำงานโครงการพัฒนาระบบกลไก และแนวทางการหนุนเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียน. กรุงเทพฯ : สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน

วัชราพร แสงสว่าง. (2563). การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารและพัฒนาการศึกษา). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วาสนา เจริญไทย. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการแก้ปัญญาทางคณิตศาสตร์เรื่อง เศษส่วนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (คณิตศาสตร์ศึกษา). มหาวิทยาลัยบูรพา

วิจารณ์ พานิช. (2556). งานสำคัญของการศึกษาไทยสร้าง “ทักษะ” ให้กับผู้เรียนพร้อมศตวรรษที่ 21 สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.

วิทูล ทาชา. (2559). การพัฒนาอีเลิร์นนิ่งเพื่อชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ: กรณีการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยวิทยาเขตอีสาน. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2556). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน. [ออนไลน์]. สืบค้นวันที่ 11 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงได้จาก http://www.jsfutureclassroom.com/cbl.html

สถาพร พฤฑฒิกุล. (2555). คุณภาพผู้เรียนเกิดจากกระบวนการเรียนรู้. วารสารการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา. 6(2): 1-13.

สัญญา ภัทรากร. (2552). ผลการจัดการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวาที่มีผลต่อความสามารถ ในการแก้ไขปัญหาและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่องความน่าจะเป็น. ปริญญานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (การมัธยมศึกษา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจํากัด.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด. (2554). รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปีการศึกษา 2554. ตราด: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (2564).รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก.โรงเรียนวัดยางงาม(ประชาพัฒนา)

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2561). การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning). [ออนไลน์]. สืบค้นวันที่ 20 กรกฎาคม 2561. เข้าถึงได้จาก https://www.orst.go.th/.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.

สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับคณาจารย์วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. 10(1): 151-158.

อำนาท เหลือน้อย. (2561). รูปแบบการบริหารจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนมาตรฐานสากล. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,

เอมอร ศรีวรชิน. (2562). การพัฒนารูปแบบการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างความสามารถการ จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ในการพัฒนาสมรรถนะด้านทักษะชีวิตของผู้เรียน โรงเรียนทัพรั้งพิทยาคม. รายงานการวิจัยเพื่อปรับเลื่อนวิทยฐานะ. นครราชสีมา: โรงเรียนทัพรั้งพิทยาคม.

Cooperstein, S.E. & Kocevar-Weidinger, E. (2004). Beyond active learning: A constructivist approach to learning. Reference Services Review, 32(2): 141-148.

Michel; Norbert; Carter. J. J.; & Otmar. (2009). Active Versus Passive Teaching Styles: An Empirical Study of Student Learning Outcomes. Human Resource Development Quarterly, vol. 20, no. 4, Winter 2009. Published online in Wiley Inter Science. Retrieved September 28, 2021 from www.interscience.wiley.com.