ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

Main Article Content

สุทธิลักษณ์ สวรรยาวิสุทธิ์
ฐนพรรณ ธูปหอม
นันทิญา พันธ์โชติ

บทคัดย่อ

              การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทยชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ด้วยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 59 คน โดยจำแนกได้ 6 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านการศึกษา ปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านอาจารย์ผู้สอน ปัจจัยด้านการวางแผนชีวิต และปัจจัยด้านความสนใจในการประกอบอาชีพครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามออนไลน์ เป็นมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูล
โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


              ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจการเลือกศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยมากที่สุด คือ ปัจจัยด้านอาจารย์ผู้สอนมากที่สุด รองลงมา คือปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจัยด้านการวางแผนชีวิตมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านสถานศึกษา รองลงมาคือ ปัจจัยด้านความสนใจในการประกอบอาชีพครู และปัจจัยด้านสังคม ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
สวรรยาวิสุทธิ์ ส., ธูปหอม ฐ., & พันธ์โชติ น. (2024). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. วารสารการบริหารการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษา, 4(3), 16–30. https://doi.org/10.2822.EAI202431239
บท
บทความวิจัย

References

กุสุมา เลาะเด. (2560). การพัฒนาความสามารถทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของผู้เรียนที่มีระดับความสามารถภาษาอังกฤษแตกต่างกัน, วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 22(1), 62 – 74.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.moe.go.th

จักรี ศรีจารุเมธีญาณ และสุริศักดิ์ อุดเมืองเพีย. (2563). แรงจูงใจในการทำงาน : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้, วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(1), 424 – 436.

ฐานิสร ไกรกังวาร. (2561). การตัดสินใจซื้อครีมกันแดดทาผิวกายของลูกค้าในจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ณงลักษณ์ จารุวัฒน์. (2560). Marketing 4.0 (การตลาด 4.0). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เนชั่นบุ๊คส์.

ณัชชา สุวรรณวงศ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา (ระบบโควตา) ประจำปีการศึกษา 2560. รายงานวิจัย. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา.

นงเยาว์ ขัติวงษ์. (2562). การศึกษาช่องทางการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อการเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. รายงานการวิจัย. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

นฏกร ปั้นพุ่มโพธิ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ, 13(1), 81 – 96.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ปฐมา อาแว และ นิยาวาเฮร์ ไพบูลย์. (2562). การตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. รายงานการวิจัย. ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ภัคชุดา เสรีรัตน์. (2560). ปัจจัยจำแนกการตัดสินใจศึกษาต่อระดับอาชีวศึกษาของนักเรียนในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (บริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

รสรินทร์ ปิ่นแก้ว และภานุวัฒน์ ศิรินุพงศ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพประเภทวิชาอุตสาหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18(1), 83 – 93.

ลัดดาวัลย์ มากช่วย. (2564). แรงจูงใจที่มีผลต่อการเลือกศึกษาต่อของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ. รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.

ศรัณย์รัตน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2566). แรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี. สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลยัศรีนครนิทรวิโรฒ.

สงัด เชียนจันทึก, พูลสุข กรรณาริก, อดิศักดิ์ แปงศรี, พิทักษ์ แฝงโกฎิ และทิตติยา มั่นดี. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจศึกษาในระดับปริญญาตรีของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา. วารสารJournal of Modern Learning Development, 7(2), 287 – 306.

สุดจิตร สุชาดา. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 17(2), 28 - 43.

สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2562). นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2563 – 2570 และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมพ.ศ. 2563 – 2565. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.). สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.mhesi.go.th/index.php/aboutus/stg-policy/930-2563-2570.html

อติพร เกิดเรือง. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการวางแผนการดำเนินชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยชินวัตร จังหวัดปทุมธานี. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 9(1), 49 – 62.