การเสริมสร้างสัมพันธภาพของคนในครอบครัวตามแนวพุทธในยุควิถีชีวิตใหม่

Main Article Content

มานพ นักการเรียน
วิญญู กินะเสน
บานชื่น นักการเรียน
ฉัชศุภางค์ สารมาศ

บทคัดย่อ

ครอบครัวเป็นหน่วยพื้นฐานทางสังคม ที่ประกอบด้วยสามี ภรรยา และบุตร เป็นอย่างน้อย มีความผูกพันทางสายโลหิต ทางกฎหมาย ทางจิตใจ หรือทางสังคม ซึ่งคนในครอบครัวต่างมีบทบาทหน้าที่ต่อกัน และมีความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกัน โดยแต่ละฝ่ายต้องมีพันธะทางศีลธรรมต่อกัน การเสริมสร้างสัมพันธภาพของครอบครัว เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเป็นอยู่ในยุควิถีชีวิตใหม่ได้ ประกอบด้วย การให้กำลังใจซึ่งกันและกันในช่องทางต่าง ๆ การเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยกำหนดข้อตกลงระหว่างคนในครอบครัว การยอมรับศักยภาพของกันและกัน การไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหาทุกกรณี และการเปิดโอกาสให้คนในครอบครัวได้ทำอะไรด้วยตนเอง โดยถือโอกาสนั้นปลูกฝังคุณธรรมต่าง ๆ ไปด้วย โดยมีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าไปบูรณาการ ซึ่งประกอบด้วย หลักพรหมวิหาร 4 หลักฆราวาสธรรม 4 หลักการพูด 5 ประการ และหลักสาราณียธรรม 6


          คำสำคัญ : สัมพันธภาพของครอบครัว, พระพุทธศาสนา, ยุควิถีชีวิตใหม่

Article Details

How to Cite
นักการเรียน ม. ., กินะเสน ว. ., นักการเรียน บ. ., & สารมาศ ฉ. . (2023). การเสริมสร้างสัมพันธภาพของคนในครอบครัวตามแนวพุทธในยุควิถีชีวิตใหม่. วารสารปราชญ์ประชาคม, 1(1), 97–110. สืบค้น จาก https://so12.tci-thaijo.org/index.php/watmahasawat_jsc/article/view/155
บท
บทความวิชาการ

References

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2559). นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันครอบครัว พ.ศ.2560-2564. กรม.

_______. (2562). นิยามและประเภทครอบครัว. กรม.

_______. (2564). วงเสวนา เผย ปัญหาความรุนแรงครอบครัว-ทางเพศ ในยุคโควิดพุ่งสูง ชี้ จนท. ล่าช้า

ขาดความเข้าใจ. https://m5.gs/ZE5ibT

_______. (2565). คู่มือการสำรวจสถานการณ์ความเข้มแข็งครอบครัว ประจำปี 2565. กรม.

กรมสุขภาพจิต. (2566). New Normal ชีวิตวิถีใหม่. https://m5.gs/aGtQWD

จรรจา สุวรรณทัต. (2554). ชุดความรู้เกี่ยวกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งครอบครัวตามมาตรฐานเข้มแข็งครอบครัว. สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว.

จีรเนาว์ ทัศศรี. (2545). ครอบครัวสัมพันธ์ เล่มที่ 1. ชานเมืองการพิมพ์.

พระครูพิสณฑ์กิจจาทร (เทิดทูน ธมฺมกาโม/เชื้อเงินเดือน). (2563). รูปแบบการพัฒนาสถาบันครอบครัวไทยเชิงพุทธบูรณาการบนฐานพุทธธรรม. สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 26(4), 194-210.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2539). มงฺคลตฺถทีปนี (ทุติโย ภาโค). โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

_______. (2541). ธมฺมปทฏฺฐกถา (ทุติโย ภาโค). โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

รศรินทร์ เกรย์ , กาญจนา ตั้งชลทิพย์, วากาโกะ ทาเคดะ, และวรรณี หุตะแพทย์. (2564). นิยาม ประเภทครอบครัว และดัชนี ตัวชี้วัด ครอบครัวอยู่ดีมีสุข: การทบทวนวรรณกรรม. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2524). พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. ราชบัณฑิตยสถาน.

_______. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2565). สุขภาพคนไทย ประจำปี 2565: ครอบครัวไทยในวิกฤตโควิด-19. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564). สำนักงาน.