ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 2

Main Article Content

ปาริชาต จันทร์สมุทร

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อทราบความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จาแนกตามประสบการณ์การทางานและขนำดสถานศึกษา ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอนในสถานศึกษา กาหนดขนำดจากสูตรยามาเน่ (Yamane) ที่ค่าความเชื่อมั่น 95% จานวน 298 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ในการทางานแตกต่างกัน ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาพรวมไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และพบว่าขนำดสถานศึกษาแตกต่างกันความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ขวัญชนก โตนำค. (2556). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมสาหรับผู้บริหารสถานศึกษา

ขั้น พื้นฐาน. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

จีราภา ประพันธ์พัฒน์. (2560). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความ

คิดเห็น ของครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา

ศาสตร มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

เวียงวิวรรธน์ ทำทูล. (2557). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อองค์การขีดสมรรถนะสูงของ

โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา

ศาสตร มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปริวัฒน์ ยืนยิ่ง. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี.

มหาวิทยาลัยราชธานี.

ปวีณา กันถิน. (2560). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประชารัฐ เขตพื้นที่

การศึกษา ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต).

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

กุลชลี จงเจริญ.(2556). หน่วยที่ 2 ภาวะผู้นำและการบริหารการเปลี่ยนแปลง. ใน ประมวลสาระชุด

วิชาการพัฒนำทักษะและประสบการณ์วิชาชีพสาหรับผู้นำทางการศึกษา หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี:

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2. (2563). โรงเรียนในสังกัด. สืบค้นจาก

http://122.154.73.174/schoolwebgroup.php

อรอนงค์ โรจน์วัฒนบูลย์.(2553). การพัฒนำตัวแบบผู้นำเชิงนวัตกรรม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร

ศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Porter-O’Grady, T., & Malloch, K. (2010). Innovation leadership: Creating the landscape of healthcare.

Sudbury. MA: Jones & Bartlett Learning.

Van de Ven, A. H., & Chu, Y. (1989). A psychometric assessment of the Minnesota Innovation Survey.

In A. Van de Ven, H. Angle, & M.S. Poole (eds.), Research on the Management