การจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะ โดยคลาวด์คอมพิวติง ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์)

Main Article Content

สุดรัก กำเนิดแสง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ (1) เพื่อจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะ โดยคลาวด์คอมพิวติง ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์) (2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะ โดยคลาวด์คอมพิวติง ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์) และ (3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้การจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะ โดยคลาวด์คอมพิวติง ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6 ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์) จำนวน 64 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) แบบประเมินประสิทธิภาพของการจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะฯ และ (2) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อการจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะฯ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) การจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะ โดยคลาวด์คอม  พิวติง ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์) สามารถใช้งานได้จริงตรงตามวัตถุประสงค์ (2) ผลการประเมินประสิทธิภาพของการใช้งานการจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะ โดยคลาวด์คอมพิวติง ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์) ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (3) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานการจัดเก็บสารสนเทศอัจฉริยะ โดยคลาวด์คอมพิวติง ของโรงเรียนบ้านหนองยาว (ราษฎร์สามัคคีรังสรรค์) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จารุกิตติ์ สายสิงห์. (2563). การพัฒนาระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากรทางการศึกษาแบบ 360 องศา. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาสารคาม.

มนพ การกล้า, ชูศักดิ์ เอกเพชร, และนัฏจรี เจริญสุข. (2565). การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศออนไลน์เพื่อการบริหารงาน ของโรงเรียนในเครือข่าย

ศรีลันตา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจังหวัดกระบี่. วารสารรัชต์ภาคย์.

วรุฒน์ ม่วงนาค. (2564). การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลออนไลน์เพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม

ศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 2. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

Bhagyashri and Kulkarni. (2013). Information Sharing Systemusing Cloud for Education. International Journal of Engineering Research

&Technology.

Cheng-Sian Chang, Tzung-Shi Chen and Hsiu-Ling Hsu. (2012). The Implications of Learning Cloud

for Education: From the Perspectives of Learners. 2012 Seventh IEEE International Conference

on Wireless, Mobile and Ubiquitous Technology in Education. IEEE Computer Society.

Cloudtweaks. (2011). What is cloud storage. Retrieved From: http://www.cloudtweaks.com/2011/07/

what-is-cloud-storage-an-outlook-report-from-storage-strategies-now.

Desale, et al. (2013). Software as a Service (SaaS) for Managementinformation system using multiple

tenants. International Journal of Engineering Research and Applications.

Frederic, Jie Pan and Fei Teng. (2013). Cloud Computing Data-Intensive Computing and Scheduling.

New York : Taylor & Francis Group, LLC.

Gartner. (2013). IM (Information Management). IT Glossary. Retrieved From http://www.gartner.com/it-glossary/iminformation-

Management.

Harris, Mark. (2011). Cloud Storage Definition: What is Cloud Storage. Retrieved From : http://mp3.about.com/od/glossary/g/Cloud-Storage-Definition-What-Is-Cloud-Storage.htm

Mell and Grance. (2011). The NIST Definition of Cloud Computing. Gaithersburg :National Institute of

Standards and Technology.

Mollah, Islam and Islam. (2012). Next Generation of Computing through Cloud Computing Technology.

th IEEE Canadian Conference on Electrical and Computer Engineering (CCECE). IEEE

Computer Society.

Tumman, Arreerard & Arreerard. (2018). The Development Research and Researcher Database System in Faculty of Information

Technology at Rajabhat Maha SarakhamUniversity. Maha Sarakham Rajabhat University.