ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 4 อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

Main Article Content

สุชญา ชัยกิจ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์สามประการ (1) เพื่อประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานของศูนย์ป้องกันและบรรเทำสาธารณภัย เขต 4 อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผล การปฏิบัติงานของศูนย์ป้องกันและบรรเทำสาธารณภัย เขต 4 อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จาแนกด้วย ลักษณะประชากร (3) เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการปฏิบัติงานของศูนย์ป้องกันและบรรเทำสาธารณภัย เขต 4 อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์กับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนในพื้นที่อำเภอสามร้อยยอด จำนวน 200 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที การวิเคราะห์ความเบี่ยงเบน สหสัมพันธ์ เพียร์สัน ผลการวิเคราะห์พบว่า (1) ด้านประสิทธิผลการปฏิบัติงานของศูนย์ป้องกันและบรรเทำสาธารณภัย เขต 4 อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง (2) ด้านความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของศูนย์ป้องกันและบรรเทำสาธารณภัย เขต 4 พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทำงสถิติที่ระดับ .05 (3) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการปฏิบัติงานของศูนย์ป้องกันและบรรเทำสาธารณภัย เขต 4 กับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผล เป็นเชิงบวกอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิตติศักดิ์ เอี่ยมระหงษ. (2557). การมีสวนร่วมของคณะกรรมการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยชุมชนใน

การจัดการด้านอุทกภัย ของจังหวัดอ่างทอง. การค้นคว้าอิสระ. รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต

สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, พระนครศรีอยุธยา.

วิจิตรตา ประชาชิต. (2556). การมีส่วนร่วมของชุมชนกับประสิทธิผลการดาเนินงานป้องกันและบรรเทา

สาธารณภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลห้วยยาง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร. มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.

ปกรณ์ จันทร์ทรง. (2556). การบริหารจัดการงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นในเขตอาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.

สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี,

อุบลราชธานี.

วัฒนา นนทชิต, บุอำนวย บุญรัตนไมตรี, เนตชนก สูนาสวน, กัณณ์ศศิชา เนาว์เย็นผล, ขนิษฐา แก้วกูล,

(2565). ศักยภาพในการจัดการเชิงกลยุทธ์ของเทศบาลนครยะลาตามแนวทาง “การบริหารจัดการ

ท้องถิ่นที่ดี” บนพื้นฐานหลักธรรมาภิบาล. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน, 4(3),

–90.

อนันต์สุดา ศรีรุ้ง.(2564). ประสิทธิผลของการบริหารจัดการเทศบาลเมืองหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัด

ประจวบคีรีขันธ์ ตามหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. วารสารวิชาการ การจัดการ

ภาครัฐและเอกชน, 3(3), 135-146.

–90.

Caplow. (1964). Principles of Organization. Harcourt, Brace & World.

Cohen, J.M., & Uphoff, N.T. (1981). Rural Development Participation: Concept and Measure for Project

Design Implementation and Evaluation. New York: Rural Development Committee, Center for

international Studies. Cornell University