การจัดการนวัตกรรมเพื่อพัฒนาศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

Main Article Content

ปณิตา วิจิตรโสภา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมิน การจัดการนวัตกรรมเพื่อพัฒนาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร (2) เพื่อเปรียบเทียบ การจัดการนวัตกรรมเพื่อพัฒนา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จากทัศนะ ของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามลักษณะประชากร (3) เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง การจัดการนวัตกรรมศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร กับปัจจัยที่มีผลต่อ การจัดการนวัตกรรมการ


          การวิจัยเป็นเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็น ข้าราชการ พนักงานราชการ นักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จำนวน 300 คน ใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลและทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะห์ค่า ที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียรสัน


          ผลการวิเคราะห์พบว่า (1) การจัดกรนวัตกรรมการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร อยู่ในระดับมากที่สุด (2) การจัดการนวัตกรรมการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร จากทัศนะ ของกลุ่มตัวอย่าง มีความแตกต่างกันเมื่อจำแนกด้วยลักษณะประชากรอย่างมีนัยสำคัญ.05 (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการนวัตกรรมเพื่อพัฒนา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ความสัมพันธ์กับปัจจัยที่มีผลการจัดการนวัตกรรมการจัดการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ.01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551).พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.

กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

ฐิตินันท์ นันทะศรีวาโร และคณะ. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสาร

บัณฑิตศึกษา, 17(79),11-20.

ชัยยศ อิ่มสุวรรณ์, วิศนีศิลตระกูล,และอมรา ปฐภิญโญบูรณ์. (2544).การศึกษาตามอัธยาศัย : จาก

แนวคิดการ เรียนรู้ตลอดชีวิตสู่แนวปฏิบัติ.กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยกรมการ

ศึกษานอกโรงเรียน.

Diederick, B. Swart. (2013). The Development of an Innovation leadership Questionnaire Stellenbosch

University. Master of Commerce in the Faculty of Economic and Management Sciences,

Stellenbosch University