พระธาตุพนมกับสังคมและวัฒนธรรม

Main Article Content

อินตอง ชัยประโคม

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพระธาตุพนมกับสังคมวัฒนธรรม ซึ่งพบว่า พระธาตุพนมถูกนำไปใช้ในความหมายของการเป็นพื้นที่เชิงสัญลักษณ์ในด้าน 1) พระธาตุพนมในมิติของศาสนสถานศักดิ์สิทธิ์ตามคติในพุทธศาสนา 2) พระธาตุพนมกับมิติด้านสัญลักษณ์ทางพุทธศิลป์ 3) พระธาตุพนมกับมิติด้านสัญลักษณ์ทางอำนาจการเมืองการปกครอง และ 4) พระธาตุพนมกับมิติด้านสัญลักษณ์ในฐานะศูนย์กลางชุมชน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมศิลปากร. (2522). จดหมายเหตุการบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระธาตุพนม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พิฆเณศ.

กรมศิลปากร. (2537). อุรังคธาตุ (ตำนานพระธาตุพนม). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์.

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. (2542). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น: ความเป็นมาของอำเภอสำคัญในประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ชัยมงคล จินดาสมุทร์. (2532). การศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระธาตุพนม และพระธาตุอื่นๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์มนุษยศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ทรงคุณ จันทจร. (2548). การศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการจัดการศึกษาและศาสนาเพื่อความร่วมมือในการพัฒนารูปแบบและกระบวนการศึกษาและศาสนาระหว่างไทยลาว. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการวิจัยการศึกษา การศาสนา และการวัฒนธรรม.

พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2540). พระพุทธศาสนาในเอเชีย. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

พระธรรมราชานุวัตร. (2551). อุรังคนิทานตำนานพระธาตุพนม (พิสดาร). พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: จูนพับลิชชิ่ง.

พระธาตุพนม. (2563). องค์พระธาตุพนมบรมเจดีย์. เรียกใช้เมื่อ 13 ตุลาคม 2563 จาก http://www.thatphanom.com

พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโญ. (2545). พระพุทธศาสนาในลาว. เชียงใหม่: บรรณกรการพิมพ์.

พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. (2521). “บทนำเสนอ” ใน อุรังคนิทาน ตำนานพระธาตุพนม. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์.

มหาสิลา วีระวงส์. (2535). ประวัติศาสตร์ลาว แปลโดย สมหมาย เปรมจิตต์. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สงวน รอดบุญ. (2545). พุทธศิลปลาว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สายธาร.

สมชาติ มณีโชติ. (2552). “จดหมายเหตุพระธาตุพนม” ใน แม่น้ำโขง ณ นครพนม โดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2514). ประชุมพระนิพนธ์เกี่ยวกับตำนานทางพุทธศาสนา. พระนคร: รุ่งเรืองธรรม.

สันติ เล็กสุขุม. (2535). เจดีย์ ความเป็นมาและศัพท์เรียกองค์ประกอบเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

สุรพล ดำริห์กุล. (2549). แผ่นดินอีสาน. กรุงเทพมหานคร: เมืองโบราณ.

อุดร จันทวัน. (2547). นิทานอุรังคธาตุ (ฉบับลาว) ปริวรรตจากต้นฉบับอักษรลาว. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

Govinda, Lama Anagarika. (1976). Psycho-cosmic Symbolism of the Buddhist Stupa. California: Dharma Press.

Snodgrass Andrain. (1985). The Symbolism of the Stupa. New York: Cornell University Press.