การพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีด้วยหลักภาวนา 4

Main Article Content

รมิดา สวนมะไฟ
พระครูวาปีจันทคุณ
ธนกร ดรกมลกานต์

บทคัดย่อ

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีด้วยหลักภาวนา 4 บุคลิกภาพทางพระพุทธศาสนา หมายถึง บุคลิกลักษณะที่เป็นลักษณะเฉพาะของบุคคลที่แสดงพฤติกรรมที่เป็นกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต หรือแสดงพฤติกรรมที่เป็นกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ที่มีอยู่ภายในจิต และที่ปรากฏออกมาทางร่างกาย ตามแรงจูงใจหรือแรงผลักดันจากภายในจิต บุคลิกภาพภายนอก หมายถึง บุคลิกลักษณะที่แสดงออกมาทางกายและวาจา และบุคลิกภาพภายใน หมายถึง บุคลิกลักษณะที่มีอยู่ภายในจิตหรืออุปนิสัย การพัฒนาบุคลิกภาพในพระพุทธศาสนา คือการปรับปรุงบุคลิกภาพภายในเพื่อส่งเสริมบุคลิกภาพภายนอกให้ดีขึ้น และเน้นปรับปรุงบุคลิกภาพภายใน การพัฒนาบุคลิกภาพตามแนวคิดทางพระพุทธศาสนา คือการปรับปรุงบุคลิกภาพและบุคลิกลักษณะที่ปรากฏภายนอกและภายในให้เปลี่ยนแปลงไปในทางที่พึงประสงค์ต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กวี วงศ์พุฒ. (2537). การพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเอเชียแปซิฟิคพริ้นติ้ง.

กันยา สุวรรณแสง. (2533). การพัฒนาบุคลิกภาพ, กรุงเทพมหานคร: เจริญรัตน์การพิมพ์.

เดโช สวนานนท์. (2518). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพมหานคร : โพธิ์สามต้นการพิมพ์.

ณรงค์ เส็งประชา. (2538). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

นันทิมา นาคาพงศ์. (2559). การสร้างและพัฒนาแบบวัดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบหลักสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).

นางสาวริญญารัตน์ วรจินตนาลักษณ์. (2562). ศึกษาสุขภาวะยุคไทยแลนด์ 4.0 ตามหลักภาวนา 4 ของนิสิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

นิพนธ์ คันธเสวี. (2526). คุณภาพชีวิตในการศึกษาและวัฒนธรรม. ประมวลบทความทางวิชาการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประชาชน จำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสุทิตย อาภากโร. (2558). การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดความสุขของประชาชนตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา. งานวิจัยสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิชญรัชต์ บุญช่วย. (2549). การศึกษากระบวนการสร้างภาวนา 4 โดยใช้หลักไตรสิกขา. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (2544). ธรรมทัศน์ของพุทธทาส อยู่อย่างพุทธ, กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.

มั่นเกียรติ โกศลนิรัติวงษ์. (2541). พุทธธรรม: เทคนิคในการให้คำปรึกษา.กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.

มุกดา ศรียงค์. (2534). บุคลิกภาพสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ยงยุทธ เกษสาคร. (2541). ภาวะผู้นำและการจูงใจ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์เอกสารและตำราสถาบันราชภัฎสวนดุสิต.

วรพล พรหมิกบุตร. (2531). สังคมวิทยาจุลภาค. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2539). ทฤษฎีการพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์.

สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2543). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

Barbara, Engler. (1985). Personality : Theories. Boston: Houghton Mifflin Company.

Encyclopaedia Britannica. (1959). London: Encyclopaedia Britannica. Ltd. London, vols 17.

Ernest, R. Hilgard. (1965). Introduction to Psychology. New York: Harcourt Brace and World Inc..