ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผักสลัดอินทรีย์ในเขตกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคผักสลัดอินทรีย์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร จำนวน 385 ตัวอย่าง ทำการวิเคราะห์โดยใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแบบจำลอง Binary Logistic Regression ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริโภคที่เป็นคนรุ่นใหม่ มีรายได้สูง และมีสมาชิกในครัวเรือนที่มีปัญหาสุขภาพ รวมทั้งการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ ความตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพจากการบริโภคและสิ่งแวดล้อมจากการผลิต และความพึงพอใจในราคาของผักสลัดอินทรีย์ มีอิทธิพลในการการตัดสินใจซื้อผักสลัดอินทรีย์
Article Details
References
กชวรรณ เวชชพิทักษ์. (2562). กลยุทธ์การตลาด 5A และการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภค. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กริช สุปินะเจริญ. (2556). ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อข้าวอินทรีย์. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กัลยาณี กุลชัย และพีรชัย กุลชัย. (2549). พฤติกรรม ทัศนคติ และปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคผักอินทรีย์ในเขตกรุงเทพมหานคร. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ สาขาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร สาขามนุษยศาสตร์ สาขาคหกรรมศาสตร์ (น.347-354). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิตราภา บุญญานุสนธิ์. (2558). ความต้องการซื้อสินค้าธัญพืชประเภทข้าวอินทรีย์. (วิทยานิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ชนิตา พันธุ์มณี และ รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์ (2555). ความยินดีที่จะจ่ายและความสามารถที่จะจ่ายได้สำหรับผักสดอินทรีย์ของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
นงนุช โกสียรัตน์. (2553). การศึกษาความต้องการบริโภคผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในร้านค้าเพื่อสุขภาพ แขวงศิริราช. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วารุณี จีนศร. (2554). ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินใจซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สมเกียรติ วงศ์ประเสริฐ. (2560). ทัศนคติต่อสินค้าอาหารอินทรีย์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพ. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุภัค ภักดีโต และไกรชิต สุตะเมือง. (2556). แรงจูงใจในการบริโภคข้าวอินทรีย์ของผู้บริโภคในวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารการเงิน การลงทุนการตลาดและการบริหารธุรกิจ, 3 (1), 547-566.
อริศรา รุ่งแสง. (2555). ปัจจัยที่ผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อัญมณี เย็นเปี่ยม และสยาม อรุณศรีมรกต. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อข้าวหอมมะลิอินทรีย์ของผู้บริโภค. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (น.98-105). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Aryal, K., Chaudhary, P. Pandit, S. & Sharma, G. (2009). Consumers’ willingness to pay for organic products: A case from Kathmandu Valley. The Journal of Agriculture and Environment, 10, 12-22.
Basarir, A. & Gheblawi M. (2012). Analyzing demand and consumers’ willingness to pay for organic fruits and vegetables. Journal of Food, Agriculture & Environment, 10 (3&4), 86-91.
Boys, K., Willis, D. & Carpio, C. (2014). Consumer willingness to pay for organic and locally grown produce on Dominica: insights into the potential for an “Organic Island”. Environment, Development and Sustainability, 16, 595-617.
Bravo, C., Cordts, A., Schulze, B. & Spiller, A. (2013). Assessing determinants of organic food consumption using data from the German National Nutrition Survey II. Food Quality and Preference, 28, 60–70.
Cochran, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York : John Wiley & Sons. Inc.
Goetzke, B., Nitzko, S. & Spiller, A. (2014). Consumption of organic and functional food. A matter of well-being and health?. Appetite, 77C, 94–103.
Gracia, A. & De Magistris, T. (2007). Organic food product purchase behaviour: a pilot study for urban consumers in the south of Italy. Spanish Journal of Agricultural Research, 5, 439-51.
Hemmerling, S., Hamm, U. & Spiller, A. (2015). Consumption behavior regarding organic food from a marketing perspective-a literature review. Organic Agriculture, 5, 277-313.
Hjelmar, U. (2011). Consumers’ purchase of organic food products. A matter of convenience and reflexive practices. Appetite, 56, 336–344.
Hsu, C.L. & Chen, M.C. (2014). Explaining consumer attitudes and purchase intensions toward organic food: Contributions from regulatory fit and consumer characteristics. Food Quality and Preference, 35, 6–13.
Idda, L., Madau, F.A. & Pulina, P. (2008). The Motivational Profile of Organic Food Consumers: a Survey of Specialized Stores Customers in Italy. Proceeding of 12th Congress of the European Association of Agricultural Economists. Ghent : EAAE.
Kavaliauske, M. & Ubartaite, S. (2014). Ethical Behaviour: Factors Influencing Intention to Buy Organic Products in Lithuania. Economics and Management, 19 (1), 72-83.
Lockie, S., Lyons, K., Lawrence, G. & Grice, J. (2004). Choosing organics: a path analysis of factors underlying the selection of organic food among Australian consumers. Appetite, 43, 135–146.
Mohamad, S., Rusdi, S. & Hashim, N. (2014). Organic Food Consumption Among Urban Consumers: Preliminary Results. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 130, 509 – 514.
Mutlu, N. (2007). Consumer Attitude and Behaviour toward Organic Food: Cross-culture study of Tukey and Germany. (Master Thesis). Stuttgard-Hohenheim: Hohenheim University.
Obayelu, O., Agboyinu, O. & Awotide, B. (2014). Consumers’ Perception and Willingness to Pay for Organic Leafy Vegetables in Urban Oyo State, Nigeria. European Journal of Nutrition & Food Safety, 4 (2), 127-136.
Ozguven, N. (2012). Organic foods motivations factors for consumers. Procedia Social and Behavioral Science, 62, 661–665.
Piyasiri, A. & Ariyawardana, A. (2002). Market Potentials and Willingness to Pay for Selected Organic Vegetables in Kandy. Sri Lankan Journal of Agricultural Economics, 4, 107-119.
Roiner-Schobesberger, B., Darnhofer, I., Somsook, S. & Vogl, C.R. (2008). Consumer perceptions of organic foods in Bangkok, Thailand. Food Policy, 33, 112–121.
Sangkumchaliang, P. & Huang, W. (2012). Consumers’ Perceptions and Attitudes of Organic Food Products in Northern Thailand. International Food and Agribusiness Management Review, 15(1), 87-102.
Srinieng, S. (2018). Consumption of Organic Vegetables in Bangkok, Thailand. (Doctoral Dissertation). Pathumthani : Asian Institute of Technology.
Srinieng, S., & Thapa, G.P. (2018). Consumers’ Perception of Environmental and Health Benefits, and Consumption of Organic Vegetables in Bangkok. Agricultural and Food Economics, 6:5.
Yadav, R. & Pathak, G.W. (2016). Intention to purchase organic food among young consumers: Evidences from a developing nation. Appetite, 96, 122–128.
Yu, X., Gao, Z. & Zeng, Y. (2014). Willingness to pay for the ‘‘Green Food’’ in China. Food Policy, 45, 80-87.