ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรภายในบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรภายในองค์กรภายในบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 300 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ผลการวิจัยพบว่าระดับภาวะผู้นำ คุณภาพชีวิตในการทำงาน ความผูกพันองค์กรอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.66, 3.60, และ 3.76 ตามลำดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.927, 0.854, และ 0.751 ตามลำดับ และปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์กรภายในบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร มีอิทธิพลรวมอยู่ที่ 0.713 และคุณภาพชีวิตในการทำงานมีอิทธิพลรวมต่อความผูกพันองค์กร มีอิทธิพลรวมอยู่ที่ 0.816 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ปัจจัยคุณภาพชีวิตในการทำงานมีอิทธิพลต่อความผูกพันองค์กรภายในบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร มากกว่าภาวะผู้นำ
Article Details
References
จันทร์เพ็ญ ชูเพชร. (2563). การศึกษาปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของธุรกิจพลังงานของพนักงานบริษัทผลิตพลังงานไฟฟ้าองค์กรมหาชนแห่งหนึ่ง ในประเทศไทย. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต. บัณฑิวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.
จิราภรณ์ สอนดี และ อภิสิทธิ์ ตั้งเกียรติศิลป์. (2564). คุณภาพชีวิตในการทำงานและความผูกพันต่อองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. 13(2), 561-563.
จุฑามาส พจน์สมพงษ์. (2560). ภาวะผู้นำและแรงจูงใจในการทำงานที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีทปุม.
ณัฐดนัย ปัญจางคกุล. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อบุคลากรในระดับมหาวิทยาลัย. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธีรดา หมวดจันทร์. (2564). คุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานพื้นที่เขตปลอดอากร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พลกฤต รักจุล และคณะ. (2563). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความผูกพัน และความตั้งใจที่จะคงอยู่ของพนักงาน: ทบทวนวรรณกรรม. Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology. 5(12), 15-30.
เมธา ชำดี. (2564). ภาวะผู้นำและวัฒนธรรมองค์การที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคคลากรองค์การคลังสินค้า กระทรวงพาณิชย์. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 7(1), 630-643.
วรัญพงศ์ บุณศิริธรรมชัย และคณะ. (2565). องค์ประกอบภาวะผู้นำที่มีผลต่อความพึงพอใจและความผูกพันในการทำงาน. วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น. 4(1), 48-51.
ศริธร สุขสิงคลี. (2562). พฤติกรรมภาวะผู้นำที่มีผลต่อคุณภาพการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 7(2), 107-125.
สุพรรณดา แสนบุญ และคณะ. (2565). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 3. Journal of Modern Learning Development. 7(9), 358-371.
เอก สินภิญโญ และชาญเดช เจริญวิริยะกุล. (2565). คุณภาพชีวิตการทำงานที่มีอิทธิพลความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานขับรถบรรทุกในอุตสาหกรรมน้ำตาล ในจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 8(2), 215-216.
Boomsma, A. (1982). The robustness of LISREL against small sample sizes in factor analysis models. In K.G. J¨oreskog & H. Wold (Eds.), Systems under indirect observation: Causality, structure, prediction. Amsterdam: North-Holland.
Comrey, A. L., & Lee, H. B. (1992). Interpretation and Application of Factor Analytic Results. (Eds.). Hillsdale, NJ: Lawrence Eribaum Associates.
Hair, E., et al. (2006). Children's school readiness in the ECLS-K: Predictions to academic, health, and social outcomes in first grade. Early Childhood Research Quarterly. 21(4), 431-454.
Hair, J. F., et al. (2014). Pearson new international edition. Multivariate data analysis. (7th Edition). Pearson Education Limited Harlow, Essex.
Hambleton, R. K., & Cook, L. L. (1977). Latent trait models and their use in the analysis of educational test data. Journal of educational measurement. 14(2), 75-96.
Westland, J. C. (2010). Lower bounds on sample size in structural equation modeling. Electronic commerce research and applications, 9(6), 476-487.
Yamane, T. (1967). Statistics, An Introductory Analysis (2nd ed). New York: Harper and Row.