ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร ภายในบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ลัดดารัตน์ กิจรุ่งไพบูลย์
วิชากร เฮงษฎีกุล

บทคัดย่อ

         การทำงาน และปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรภายในบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรภายในบริษัทประกันภัย จำนวน 300 คน ด้วยวิธีอาศัยความน่าจะเป็น และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ


         ผลการวิจัยพบว่าระดับแรงจูงใจในการทำงาน ความผูกพันองค์กร และประสิทธิภาพการทำงานอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.97, 3.91, และ 4.12 ตามลำดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.540, 0.621, และ 0.516 ตามลำดับ และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานผ่านความผูกพันองค์กรมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรภายในบริษัทบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร มีอิทธิพลรวมอยู่ที่ 0.829 และความผูกพันองค์กรมีอิทธิพลรวมต่อประสิทธิภาพในการทำงาน มีอิทธิพลรวมอยู่ที่ 0.221 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า แรงจูงใจในการทำงานมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากรภายในบริษัทบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร มากกว่าความผูกพันองค์กร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลพร ศรีใส. (2562). การจัดการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานบริษัทประกันภัย. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.

กฤษดา เชียรวัฒนสุข และคณะ. (2561). แรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ เบทาโกรสเปเชียลตี้ฟู้ดส์ จำกัด. วารสารวิชาการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 5(2), 55-69.

ฐิติภัทร์ ทุทุมมา. (2563). แรงจูงใจในการทำงานที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานฝ่าย บิวตี้แอนด์เซลล์ (Beauty & Sales) กรณีศึกษา บริษัทเซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำกัด. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

บุศราคัม รักท้วม. (2562). ปัจจัยด้านแรงจูงใจที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานโรงพยาบาลบางปะกอก 9 อินเตอร์เนชั่นแนล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม.

มณีรัตน์ ศรีคุ้ย และ ธวัชชัย ทุมทอง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรกับประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. 15(1), 157-174.

มัณฑณา บิณฑวิหค. (2564). ปัจจัยความผูกพันต่อองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานกรณีศึกษา : ธนาคารกสิกรไทย จังหวัดพิจิตร. วารสารโครงการทวิปริญญาโททางรัฐประศาสนศาสตร์และบริหารธุรกิจ. 8(2), 1-12.

วรรณา อาวรณ์. (2557). แรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันองค์การของข้าราชการรัฐสภาระดับปฏิบัติงาน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.

หฤทัย วรรณพงศพล และมณีกัญญา นากามัทสึ. (2565). ความพึงพอใจในงานที่สงผลต่อความผูกพันของพนักงานในการทำงานของบริษัทจำหน่ายเครื่องนอน ย่านบางบอน. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 8(3), 139-148.

อนุดิษฐ์ ฐานไชยกร. (2562). ความผูกพันองค์กร. Journal of Roi Kaensarn Academi. 4(1), 32-46.

ภาษาอังกฤษ

Best, J. W. (1977). Research in Education (3rd ed). New Jersey: Prentice-hall Inc.

Comrey, A. L., & Lee, H. B. (1992). Interpretation and Application of Factor Analytic Results. (Eds.). Hillsdale, NJ: Lawrence Eribaum Associates.

Hair, E., et al. (2006). Children's school readiness in the ECLS-K: Predictions to academic, health, and social outcomes in first grade. Early Childhood Research Quarterly. 21(4), 431-454.

Hair, J. F., et al. (2014). Pearson new international edition. Multivariate data analysis. (7th Edition). Pearson Education Limited Harlow, Essex.

Hambleton, R. K., & Cook, L. L. (1977). Latent trait models and their use in the analysis of educational test data. Journal of educational measurement. 14(2), 75-96.

Irfan, S., & Marzuki, N. A. (2018). The moderating effects of organizational culture on the relationship between work motivation and work commitment of university academic staff. International Journal of Learning and Development. 8(1), 137-155.

Martini, I. A. O., et al. (2020). The dimensions of competency on worker performance mediated by work commitment. Cogent Business & Management. 7(1), 1794677-1794695.

Nunnally, J.C. (1978). An Overview of Psychological Measurement. In: Wolman, B.B. (eds) Clinical Diagnosis of Mental Disorders. Boston, MA: Springer.

Surahman, A. (2023). Fueling Productivity: Exploring the Impact of Work Motivation, Work Environment, Work Commitment, and Competence on Teaching Staff's Performance. PRODUKTIF: Jurnal Kepegawaian dan Organisasi. 2(1), 93-103.

Tovmasyan, G., & Minasyan, D. (2020). The Impact of Motivation on Work Efficiency for Both Employers. Business Ethics and Leadership. 4(3). 25-35.