กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ตามแนวพระพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ตามแนวพระพุทธศาสนา พบว่า กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ของพระพุทธศาสนา เป็นเรื่องการของตัดสินเพื่อหาข้อยุติความขัดแย้งโดยชอบธรรม และมีการลงโทษผู้ทำผิด เพื่อตักเตือนและป้องกันไม่ให้เกิดการกระทำที่ไม่ถูกต้อง
ส่วนหลักพระวินัย ได้แก่ หลักอธิกรณสมถะ 7 และนิคหกรรม นำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้เกิดความยุติธรรมได้ตามแนวพระพุทธศาสนาคือนิคหกรรม โดยเฉพาะผู้เสียหายและผู้กระทำผิด เพื่อส่งเสริมสังคมที่สงบสุข ทุกคนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม สร้างสถาบันที่มีความรับผิดชอบและมีประสิทธิภาพ มีหลักธรรมสำหรับเป็นเครื่องมือส่งเสริมให้เกิดความยุติธรรม คืออริยสัจ 4 ส่วนที่เป็นวิธีการในการที่จะดำเนินไปสู่กระบวนการสร้างความยุติธรรมให้เกิดขึ้นได้คืออธิกรณสมถะ 7
Article Details
References
จรัส เตชะวิจิตรา. (2556). กระบวนการยุติธรรมในการพิจารณาวิถีพุทธ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม.
จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. (2548). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์: การปรับกระบวนทัศน์กระบวนการยุติธรรมไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ณรงค์ ใจหาญ และคณะผู้วิจัย. (2522). กระบวนการสร้างความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในศาลยุติธรรม. รายงานผลวิจัย. สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์: สำนักงานศาลยุติธรรม.
ดิเรก ควรสมาคม. (2554). สมานฉันท์ : ทบทวน ความหมาย หลักการ ขั้นตอน ทางพุทธศาสนากับการระงับข้อพิพาทในกฎหมาย. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 4(1), 25-48.
ประสิทธิ์ โฆวิไลกุล. (2540). เหลียวหลังดูกฎหมายและความยุติธรรม. กรุงเทพมหานคร: นิติธรรม.
พุทธทาสภิกขุ. (2549). อิทัปปัจจยตา. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ.
พระมหาอุดม สารเมธี. (2557). ยุติธรรม : ความยุติธรรมนั้นสำคัญนัก. กรุงเทพมหานคร: มหาเปรียญ.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2535). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). สลายความขัดแย้ง. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2539). นิติศาสตร์แนวพุทธ กรุงเทพมหานคร: สถาบันกฎหมายอาญา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). วิกฤตบ้านเมืองวันนี้โอกาสที่มีควรเป็นของใคร : เรื่องที่ 22 ตอบคำถามเรื่อง สมานฉันท์ mp. 3. นครปฐม: วัดญาณเวศกวัน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชัน.
พระวิสุทธาจารมหาเถระ. (2535). ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ 2500. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ. (2531). พจนานุกรม บาลี–ไทย-อังกฤษ ฉบับภูมิพโล ภิกขุ เล่ม 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ภูมิพโลภิกขุ.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงนิพนธ์, สุเชาว์ พลอยชุม รวบรวม. (2529). สารานุกรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2537). วินัยมุข เล่ม 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
หลวงเทพดรุณานุศิษฎ์ (ทวี ธรรมธัช, ป.9). (2535). พระคัมภีร์ธาตุปปทีปิกา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
อธิเทพ ผาทา. (2549). การศึกษารูปแบบและกระบวนการแก้ปัญหาในพระพุทธศาสนาเถรวาท: ศึกษาเฉพาะกรณีอธิกรณสมถะ 7 และ กฎนิคหกรรมของมหาเถรสมาคมในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
H. Zehr. (1990). Changing Lens: a New Focus for Crime and Justice. Scottsdale, Pennsylvania: Waterloo Ontario: Herald Press.