ความหลุดพ้นในพระพุทธศาสนานิกายตันตระ

Main Article Content

พระชลชัย สุธมฺโม

บทคัดย่อ

         บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลุดพ้นในพระพุทธศาสนานิกายตันตระที่เชื่อว่าการบรรลุความหลุดพ้นโดยมีเจตนาเป็นสำคัญ ต่อมาเห็นว่าการบรรลุความหลุดพ้นต้องได้รับความช่วยเหลือจากพระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ พิธีกรรมและการสวดธารณีและได้ปรับวิถีทางแห่งความความหลุดพ้นให้ง่ายภายในชาตินี้ เหมาะกับทุกคน ให้ผลเร็ว และมีอานิสงส์มาก และยังมีพัฒนาการด้านการบรรลุความหลุดพ้นโดยใช้พิธีกรรมเป็นสัญลักษณ์และการบรรลุความหลุดพ้นผ่านพุทธเทวนิยม คือ การได้รับความช่วยเหลือจากพระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ซึ่งทุกคนก็สามารถบรรลุความหลุดพ้นได้ เป็นเส้นทางลัดให้ถึงความหลุดพ้นได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลาบำเพ็ญบารมีให้แก่กล้าก่อนจึงจะหลุดพ้นเหมือนพระพุทธศาสนานิกายอื่น นอกจากนี้ยังได้รับความช่วยเหลือจากพระพุทธเจ้าและเหล่าพระโพธิสัตว์ให้บรรลุความหลุดพ้นอย่างฉับพลัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์. (2525). ประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา (ฝ่ายมหายาน). นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์. (2538). พระพุทธศาสนาแบบทิเบต. กรุงเทพมหานคร: ส่องสยาม.

ประยงค์ แสนบุราณ. (2548). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ. (2544). พุทธปรัชญา สาระและพัฒนาการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาดาวสยาม วชิรปัญโญ. (2538). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวย.

พระมหาแผน ธมฺมเมธี (ศรีอภัย). (2548). ศึกษารูปแบบและวิธีการเผยแผ่พุทธธรรมของพันเอกปิ่น มุทุกันต์. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระวิมาน คมฺภีรปญฺโญ (ตรีกมล). (2549). ศึกษาอิทธิพลของตันตระที่มีต่อพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิฑูร มลิวัลย์และคณะ. (2533). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

วศิน อิทรสระ. (2528). พุทธปรัชญามหายาน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

แสง จันทร์งาม. (2544). ประทีปธรรม. กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

แสง จันทร์งาม. (2531). ศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

เสถียร โพธินันทะ. (2548). ปรัชญามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. (2539). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

เอ็ดเวอร์ด โคนซ์. (มปป.). พุทธศาสนประวัติสังเขป. กรุงเทพมหานคร: สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย.