พุทธจริยศาสตร์ในการประกอบของธุรกิจ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพุทธจริยศาสตร์ในการประกอบธุรกิจ เป็นหลักกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมทุกๆ อาชีพ จึงเป็นการจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีจริยธรรมเป็นหลักในการดำเนินธุรกิจ โดยพุทธปรัชญาได้นำเสนอหลักทิฏฐธัมมิกัตถะ หรือประโยชน์ให้เกิดในปัจจุบัน โดยการขยันหาทรัพย์, รักษาทรัพย์ดี, มีเพื่อนดี, ใช้ชีวิตพอเพียง และช่วยเหลือสังคมด้วยการร่วมมือกับชุมชนสร้างสรรค์สังคมรักษาสิ่งแวดล้อม และการคืนกำไรให้กับสังคม พุทธจริยศาสตร์ในการประกอบธุรกิจยังเป็นฐานในการพัฒนาจริยธรรมในด้านต่าง ๆ เช่นสังคม การเมือง ระบบการปกครอง เศรษฐกิจ ให้ถูกต้องชอบธรรมเป็นการสั่งสมคุณลักษณะของการพัฒนาตนตามหลักคุณธรรมจริยธรรมอย่างสมบูรณ์
Article Details
References
กัลย์ธีรา สรรพสัมฤทธ์. (2547). นักธุรกิจกับพุทธศาสนา. สารนิพนธ์ศิลปะศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาศาสนศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.
คำพอง งามภักดิ์. (2543). ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดประโยชน์นิยมกับแนวคิดพระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2541). ทฤษฎีใหม่ : มิติที่ยิ่งใหญ่ทางความคิด. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิคอนราดอาคนาวร์.
ว.วชิรเมธี. (2553). เคล็ดลับหัวใจเศรษฐี. กรุงเทพมหานคร: ปราณ พับลิชซิ่ง.
วิทยากร เชียงกูล. (2548). ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ที่ทุกคนควรรู้. กรุงเทพมหานคร: สายธาร.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมล คีมทอง.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) . (2540). มาตรฐานชีวิตของชาวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.
ไสว มาลาทอง. (2542). คู่มือการศึกษาจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
สู่ดิน ชาวหินฟ้า. (2549). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาสุขภาวะภายใต้ระบบบุญนิยม. สารนิพนธ์นิเทศศาสตร มหาบัณฑิต.บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกริก.