กระบวนการ CUEPADD สู่การบริหารงบประมาณสถานศึกษาในยุควิถีใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ

Main Article Content

วรพล ศรีเทพ
ศิลป์ชัย สุวรรณมณี

บทคัดย่อ

         บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการ CUEPADD สู่การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพในยุควิถีใหม่ ผลการศึกษาพบว่า ในยุควิถีใหม่ที่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในด้านการศึกษาที่ต้องปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยีและวิธีการสอนที่เปลี่ยนไป การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาจึงมีความสำคัญยิ่งขึ้น ซึ่งการวางแผนและการใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้สถานศึกษาสามารถตอบสนองต่อความต้องการเหล่านั้นได้อย่างเหมาะสม ซึ่งการบริหารงบประมาณในยุควิถีใหม่ต้องเน้นการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง พร้อมทั้งส่งเสริมนวัตกรรมและการปรับปรุงอย่างไม่หยุดยั้ง เพื่อให้สถานศึกษาสามารถตอบสนองและเติบโตไปพร้อมกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของสังคมและนักเรียนได้ โดยกระบวนการ CUEPADD สู่การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพในยุควิถีใหม่ ประกอบด้วย 1) วางแผนชัดเจนและมองระยะยาว (Clear and Long-term Planning) 2) ใช้เทคโนโลยีจัดการงบประมาณ (Utilizing Technology for Budget Management and Monitoring)  3) เสริมส่วนร่วมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Encouraging Stakeholder Participation) 4) ตั้งเป้าหมายใช้จ่ายตามจำเป็น (Prioritizing Necessary and Effective Expenditures)  5) กำหนดแนวทางการเงินผสมผสาน (Adopting Blended Learning Approaches) 6) จัดหาแหล่งทุนหลายช่องทาง (Diversifying Funding Sources) 7) พัฒนาบุคลากรด้านการบริหารงบประมาณ (Developing personnel in budget management) ซึ่งการบริหารงบประมาณสถานศึกษาในยุควิถีใหม่จำเป็นต้องปรับตัวเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและความต้องการที่หลากหลายของนักเรียนและสังคมด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้เกิดการบริหารจัดการสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2560. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์. (2561). การคลังสาธารณะทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คุณิตา ไตรอังกูร. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าทำงานในองค์กรของกลุ่ม Generation Z.

สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหิดล.

จิรัฏฐิกา ภานุกรกุล. (2563). แนวทางการพัฒนาการบริหารงบประมาณและการจัดทำแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด

กรณีศึกษากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก 1 (ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง). สารนิพนธ์สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. คณะรัฐศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุฬารัตน์ ห้าวหาญ และอรชร อินทองปาน. (2558). การวิจัยและพัฒนารูปแบบการโค้ชเพื่อพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการบริการสุขภาพ. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 25(1): 167-177.

ฉวีวรรณ อินชูกุล. (2565). การบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาในสถานการณ์ปกติใหม่. หลักสูตรปรัชญา

ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชัยรัตน์ เงินเนื้อดี. (2560). สภาพและปัญหาการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชุติมา พวงทอง. (2563). แนวทางการบริหารงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ณัฐพัชร์ บุญเกต. (2565). การบริหารการจัดการเรียนรู้ในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 2. วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะครุศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

ติณภพ หลวงมณีวรรณ์. (2566). รายงานการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมของโรงเรียนบ้านเหล่าเป้า ตำบลดอยหล่อ อำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 4.

ธันย์ สุภาพแสน. (2563). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลเอกชน จังหวัดเชียงใหม่. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2565). การศึกษาในยุคการเปลี่ยนฉับพลันทางดิจิทัล (Digital D isruption) และผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.). 28(3), 1-13.

เพ็ญพรรณ บางอร. (2562). แนวทางการบริหารจัดการระบบบริหารงานงบประมาณของ โรงเรียนสบเมยวิทยาคม อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

เพ็ญพิมล หกสุวรรณ. (2559). ศักยภาพการคลังท้องถิ่น: กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร.

ภคพร เลิกนอก. (2563). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกประถมศึกษาขอนแก่นเขต 4. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 7(2), 150-166.

วนิดา สัจพันโรจน์. (2561). การบริหารจัดการงบประมาณแผ่นดินของประเทศไทยจากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วรพล วิแหลม. (2564). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการโค้ชและการดูแลให้คำปรึกษาสำหรับบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารธรรมศาสตร์. 40(2), 98-115.

วราพร แต้มเรืองอิฐ. (2565). การตัดสินใจของผู้บริหารกับการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ยงยุทธ สงพะโยม. (2565). กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษาในยุคปกติใหม่. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สกุณา มาอู๋ (2562). ทักษะของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดเอ็น.เอ.รัตนะเทรดดิ้ง.

สำนักการคลังและสินทรัพย์. (2560). พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560.กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2561). พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร: นิวธรรมดาการพิมพ์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

สุชิน เรืองบุญส่ง. (2551). การศึกษาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาระยอง เขต 2. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

สุปรียา แก้วละเอียด. (2563). กฎหมายการคลังภาคงบประมาณแผ่นดิน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.

ณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์. 2562. การบริหารงบประมาณ. เรียกใช้เมื่อ 23 มีนาคม 2567 จาก https://slideplayer.in.th/slide/16161781.

ศิรวัชร์ ภู่เจริญศิลป์ และวรินทร กังวานทิพย์. (2564). การบริหารจัดการภาครัฐในรูปแบบวิถีใหม่ กรณีศึกษา

สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตร์

และบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อารีย์ นิลเอก. (2554). สภาพการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

Lee. (2008). An Integrative Model of Trust on IT Outsourcing: Examining a Bilateral Perspective. Information Systems Frontiers.10 (2), 145-163.

Daniel Katz and Robert L. Kahn. (1978). The Social Psychology of Organizations. 2nd ed. New York: John Wiley.