การวิเคราะห์ความผันผวนของราคาทองคำในประเทศไทยด้วยแบบจำลอง GARCH: หลักฐานเชิงประจักษ์จากตลาดทองคำไทยช่วงหลัง Covid-19
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความผันผวนของราคาทองคำในประเทศไทยช่วงหลังการระบาดของโควิด-19 โดยใช้แบบจำลอง GARCH (1,1) กับข้อมูลราคาทองคำรายวันย้อนหลัง 2 ปี 8 เดือน ผลการศึกษาพบว่าความผันผวนของราคาทองคำไทยมีลักษณะคงทนสูง โดยมีค่า β เท่ากับ 0.764646 และผลรวมของ α และ β เท่ากับ 0.987376 แสดงถึงการมี long memory ในความผันผวน แบบจำลอง GARCH(1,1) สามารถจับพลวัตของความผันผวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่พบหลักฐานของ autocorrelation ที่มีนัยสำคัญของ Error Terms การพยากรณ์แสดงแนวโน้มการเพิ่มขึ้นเล็กน้อยของความผันผวนในระยะสั้น สะท้อนให้เห็นว่าแบบจำลองพยากรณ์ว่าตลาดทองคำไทยจะมีความผันผวนในระดับต่ำ หรืออีกนัยหนึ่งคือคาดการณ์ว่าผลตอบแทนจะมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีตลาดที่มีประสิทธิภาพ ที่ระบุว่าราคาในปัจจุบันได้สะท้อนข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดแล้ว ผลการศึกษานี้มีนัยสำคัญต่อการตัดสินใจลงทุนและการกำหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับตลาดทองคำไทยในยุคหลังโควิด-19 โดยชี้ให้เห็นว่าปัจจัยสำคัญที่ควรพิจารณาได้แก่ อัตราแลกเปลี่ยน ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ และราคาทองคำโลก ซึ่งมีผลต่อการวิเคราะห์และคาดการณ์ความผันผวนของราคาทองคำในประเทศไทย
Article Details
References
Batten, J. A., Ciner, C., & Lucey, B. M. (2010). The macroeconomic determinants of volatility in precious metals markets. Resources Policy, 35(2), 65-71.
Batten, J. A., Ciner, C., & Lucey, B. M. (2015). Which precious metals spill over on which, when and why? Some evidence. Applied Economics Letters, 22(6), 466-473.
Baur, D. G., & Lucey, B. M. (2010). Is gold a hedge or a safe haven? An analysis of stocks, bonds and gold. Financial review, 45(2), 217-229.
Capie, F., Mills, T. C., & Wood, G. (2005). Gold as a hedge against the dollar. Journal of International Financial Markets, Institutions and Money, 15(4), 343-352.
Corbet, S., Larkin, C., & Lucey, B. (2020). The contagion effects of the COVID-19 pandemic: Evidence from gold and cryptocurrencies. Finance Research Letters, 35, 101554.
dojipedia. (2024). สถิติความต้องการและราคาทองคำและเหตุการณ์รายไตรมาส. Retrieved 19 September, 2024, from https://www.dojipedia.com/สถิติทองคำ/
Harnphattananusorn, S. (2019). Analysis of relationship and volatilities between foreign exchange market and stock market of Thailand and selected Asian countries. Kasetsart Journal of Social Sciences, 40(1), 262-269.
Kirkulak-Uludag, B., & Lkhamazhapov, Z. (2016). The volatility dynamics of spot and futures gold prices: Evidence from Russia. Research in International Business and Finance, 38, 474-484.
Levin, E. J., Montagnoli, A., & Wright, R. (2006). Short-run and long-run determinants of the price of gold. Retrieved 18 September, 2024, from https://strathprints.strath.ac.uk/7215/
Markowitz, H. M. (1991). Foundations of portfolio theory. The Journal of Finance, 46(2), 469-477.
Pamnani, A. (2021). Behavioural finance effect on gold price trends during Covid-19 pandemic. IPE Journal of Management, 11(1), 76-87.
Şengül, Z. (2023). Comparison of GARCH and SVRGARCH models: Example of gold return. Journal Of Applied Micro-econometrics, 3(1), 23-35.
Tardiana, A. L., Akbar, H., Firmansyah, G., & Widodo, A. M. (2024). Integration of Garch models and external factors in gold price volatility prediction: Analysis and comparison of Garch-M approach. Eduvest-Journal of Universal Studies, 4(5), 4011-4923.
Tully, E., & Lucey, B. M. (2007). A power GARCH examination of the gold market. Research in International Business and Finance, 21(2), 316-325.