ประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของจิตใจร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคมต่อความเข้มแข็งของจิตใจในผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตาย
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเข้มแข็งของจิตใจก่อนและหลังได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของจิตใจร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคม และความเข้มแข็งของจิตใจระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตายที่มารับบริการในโรงพยาบาลค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี จำนวน 30 คน จับคู่ให้มีลักษณะคล้ายคลึงกันด้านเพศและอายุ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของจิตใจร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคม และแบบประเมินพลังสุขภาพจิต ของกรมสุขภาพจิต มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.749 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเข้มแข็งของจิตใจสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม และมีความเข้มแข็งของจิตใจสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุปผลการวิจัย ประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของจิตใจร่วมกับการดูแลด้านจิตสังคม สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มผู้ป่วยที่พยายามฆ่าตัวตายด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยไม่กลับไปมีพฤติกรรมพยายามฆ่าตัวตายซ้ำ สอดคล้องกับตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี ส่งผลให้อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จในพื้นที่ลดลง
คำสำคัญ : ความเข้มแข็งของจิตใจ การดูแลด้านจิตสังคม ผู้พยายามฆ่าตัวตาย
References
Chen, C. S., Chan, S. W. C., Chan, M. F., Yap, S. F., Wang, W., & Kowitlawakul, Y. (2017). Nurses’
perceptions of psychosocial care and barriers to its provision: A qualitative
study. Journal of nursing research, 25(6), 411-418.
Filej, B., & Kaucic, B. M. (2013). Holistic nursing practice. South Eastern Europe Health
Sciences Journal, 3(1), 1-7.
Grotberg, E. H. (1995). The International Resilience Project: Research and Application.
Polit, D. F., & Beck, C. T. (2004). Nursing research: Principles and methods. Lippincott Williams
& Wilkins.
Ram, D., Chandran, S., Sadar, A., & Gowdappa, B. (2019). Correlation of cognitive resilience,
cognitive flexibility and impulsivity in attempted suicide. Indian journal of psychological
medicine, 41(4), 362-367.
World Health Organization. (2023, October 26). Suicide prevention. Suicide (who.int)
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2566). ตัวชี้วัดที่ 029.1: อัตรา
การฆ่าตัวตายสำเร็จ. http://healthkpi.moph.go.th/
กรรณิการ์ ผ่องโต, และอรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2557). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ
ต่อความคิดฆ่าตัวตายในผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 28(1),
-132.
โปรแกรม HOSxP File version 3.66.9.8. โรงพยาบาลค่ายบางระจัน. (2565). Patient EMR: OPD Scan:
HOSxP viewer. สิงห์บุรี, โรงพยาบาลค่ายบางระจัน.
พจนีย์ ขูลีลัง. (2566). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย : กรณีศึกษาในหอผู้ป่วยจิตเวช
โรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์, 38(2), 437-447.
ภิญญดา ภัทรกิจจาธร, และจิรวรรณ ชัยวิศิษฎ์. (2563). แนวทางการประเมินภาวะสุขภาพผู้ป่วยจิตเวช
ตามแบบแผนด้านสุขภาพของกอร์ดอน. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 10(1), 156-159.
ศรุตา เขียวผิว, และธนัชญา จั่นเล็ก. (2564). การฆ่าตัวตายในภาวะทุนนิยมของสังคมไทยปัจจุบัน. วารสาร
ธรรมศาสตร์, 40(3), 140-160.
สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข, และสุพร อภินันทเวช. (2563). การฆ่าตัวตายของวัยรุ่นในประเทศไทย : อุบัติการณ์
สาเหตุ และการป้องกัน. เวชบันทึกศิริราช, 13(1), 40-47.
สกาวรัตน์ พวงลัดดา, ชนกานต์ เนตรสุนทร, สุจินต์ ฐิติพิเชฐกุล, และจันทร ยี่สุ่นศรี. (2556). การพัฒนา
รูปแบบการพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า: กรณีศึกษาผู้ป่วยนอก. วารสารการพยาบาล
จิตเวชและสุขภาพจิต, 27(2), 126-142.
สุดคนึง ฤทธิ์ฤาชัย, วรรณบูรณ์ ฟักอุดม และสฤษดิ์เดช เจริญไชย. (2564). การพัฒนาทักษะการปฐมพยาบาล
ด้านจิตใจทางโทรศัพท์: การอบรมออนไลน์ในยุดโควิด แก่ทีมสหสาขาวิชาชีพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ.
วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 14(1), 1-13.
สุพัตรา สุขาวห, และสุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล. (2560). ปัจจัยเสี่ยงและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตาย
ในวัยรุ่น: การทบทวนวรรณกรรมเชิงลึก. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 62(4), 359-378.
โสฬวรรณ อินทสิทธิ์, สิริกุล จุลคีรี, และบรรณาธิการ. (2563). คู่มือการดูแลทางสังคมจิตใจ สำหรับพยาบาล.
พิมพ์ครั้งที่ 2. บริษัท บียอนด์ พับลิสชิ่ง จำกัด.
โสฬวรรณ อินทสิทธิ์ สิริกุล จุลคีรีและบรรณาธิการ. (2563). “เปลี่ยนร้ายกลายเป็นดี พลังสุขภาพจิต RQ:
Resilience Quotient ,” พิมพ์ครั้งที่ 4. บริษัท บียอนด์ พับลิสชิ่ง จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี. (2566, กรกฎาคม). รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี รอบที่ 2/2566 [เอกสารนำเสนอ
ในที่ประชุม]. การประชุมการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ รอบที่ 2/2566 เขตสุขภาพที่ 4
ระหว่างวันที่ 10 – 12 กรกฎาคม 2566 (หน้า 56-57). สิงห์บุรี.
อนงค์ อรุณรุ่ง. (2551). การศึกษาการใช้โปรแกรม การให้คำปรึกษาครอบครัวต่อความคิด ฆ่าตัวตายของผู้ที่
พยายามฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลลาดบัวหลวง. โครงการศึกษา อิสระสาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิต
และจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนุกูล หุ่นงาม และสมบัติ สกุลพรรณ์. (2565). บทบาทของพยาบาลจิตเวชในการจัดการความเสี่ยงเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายซ้ำ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 16(3), 1-14.
อรพิน ยอดกลาง, มธุรส ทิพยมงคลกุล และคณะ. (2563). การป้องกันและลดปัญหาการฆ่าตัวตาย
ในประเทศไทย [โครงการวิจัย]. โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์.
อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2554). จิตบำบัดและการ ให้คำปรึกษาครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร:
ซันต้าการพิมพ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารบริหารการพัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.