การประเมินความยั่งยืนกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน: วิสาหกิจท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลถ้ำรงค์ อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี

ผู้แต่ง

  • อิทธิศักดิ์ จิราภรณ์วารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0000-0002-9171-4716
  • สุรัตน์ เพชรนิล
  • ภาสนันทน์ อัศวรักษ์
  • ปภามญชุ์ ซีประเสริฐ

คำสำคัญ:

การท่องเที่ยวโดยชุมชน, การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, เมืองท่องเที่ยว, เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก

บทคัดย่อ

โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) สัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทั้งระดับผู้นำชุมชน และผู้ปฏิบัติการ ผ่านการประยุกต์ใช้เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก The GSTC Destination Criteria (GSTC - D) ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในระดับนานาชาติ เกณฑ์ดังกล่าวมีส่วนช่วยในการยกระดับการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศสมาชิก The World Tourism Organization (UNWTO) ให้เกิดความยั่งยืนอย่างเป็นระบบในการออกแบบเครื่องมือในการประเมิน

References

CBT Thailand. (2566). วิสาหกิจท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านไร่สะท้อนถ้ำรงค์. สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2566 จาก https://cbtthailand.dasta.or.th/webapp/community/content/48/

Thailand Village Academy. (2566). วิสาหกิจท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลถ้ำรงค์ อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี.สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2566 จาก https://www.thailandvillageacademy.com/th/22-villages-th/tham-rong-community-phetchaburi-th/

The Global Sustainable Tourism Council (GSTC). (2566). What is Sustainable Tourism ?. สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2566 จาก https://www.gstcouncil.org/what-is-sustainable-tourism/

UN World Tourism Organization (UNWTO). (2566). GLOSSARY OF TOURISM TERMS สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2566 จาก https://www.unwto.org/glossary-tourism-terms

คนธรรพ์ พรถวิล และ เสนอชัย เถาว์ชาลี. (2564). ผลกระทบจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชนเผ่าม้ง ตำบลรวมไทยพัฒนา อำเภอพบพระ จังหวัดตาก. มจร การพัฒนาสังคม 6, 1 (พ.ย. 2021), 103–110.

ชัญญานุช ยุทธวรวิทย์. (2565). การศึกษาโมเดลการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพ: วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

พงศ์ลัดดา ป้านสุวรรณ. (2561). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ตําบลถํ้ารงค์ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งที่ 13 ปีการศึกษา 2561.

รวลัญช์ ดอกรัก และพชร สาตร์เงิน. (2566). แนวทางการจัดการการท่องเที่ยววิถีชุมชนอย่างยั่งยืน ตําบลถ้ำรงค์อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี. วารสารมณีเชษฐาราม วัดจอมมณี 5, 2 (มีนาคม – เมษายน 2566), .

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2566) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา.

สิทธิชัย สวัสดิ์แสน และ ปริญญา นาคปฐม. (2565). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจังหวัดนครนายกภายหลังสถานการณ์โควิด-19. วารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน. 4, 2 (ธ.ค. 2022), 38–55.

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2565). คู่มือการวางแผนการดำเนินงานของแหล่งท่องเที่ยวตามเกณฑ์ GSTC-D VERSION 2.0. กรุงเทพฯ: สำนักจัดการองค์ความรู้ ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ร่วมกับ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล.

อิสระพงษ์ พลธานี อุมาพร บุญเพชรแก้ว ฐิติวัลค์ ช่อมะลิ ณัฐฌา มูลคร สุดารัตน์ คณิตอิทธิวัฒน์ ศศิพร กลั่นบุศย์ และ อาทิตยา ประเสริฐนอก. (2564). การศึกษา ผลกระทบจากการท่องเที่ยวทางทะเลตามองค์ประกอบของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่เกาะล้าน อำเภอ บางละมุง จังหวัดชลบุรี. ศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 16, 2 (พ.ย. 2021), 98–110.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-04

How to Cite

จิราภรณ์วารี อ., เพชรนิล ส., อัศวรักษ์ ภ. ., & ซีประเสริฐ ป. (2024). การประเมินความยั่งยืนกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน: วิสาหกิจท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลถ้ำรงค์ อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี. วารสารบริหารการพัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการ, 4(1), 13–30. สืบค้น จาก https://so12.tci-thaijo.org/index.php/IIDMJ/article/view/1196