กลไกการพัฒนาต่อยอดสมรรถนะบุคคลสู่ภูมิปัญญาของชุมชน
คำสำคัญ:
สมรรถนะ ภูมิปัญญา ทฤษฎีเครือข่ายบทคัดย่อ
สมรรถนะ (Competency) ของบุคคลในองค์การ หมายถึง คุณลักษณะพื้นฐานที่ซ่อนอยู่ภายในตัวบุคคล ความรู้ ทักษะ ความสามารถ แรงจูงใจ เพื่อทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมายของตำแหน่งงานหรือลักษณะงานนั้นๆ ซึ่งใช้เป็นส่วนหนึ่งในการประเมินผลงาน ศักยภาพในการทำงานและการเติบโตของพนักงานในองค์การอย่างกว้างขวาง และในส่วนของชุมชนเองก็มีการพูดถึง “ภูมิปัญญา” ซึ่งหมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ความเชื่อและศักยภาพในการแก้ปัญหาของมนุษย์ที่สืบทอดกัน ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันอย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงสัมพันธ์กันทุกมิติ ทั้งในมิติสิ่งที่เหนือธรรมชาติ มิติธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมิติของคน ชุมชนและสังคม ในบริบทของการเกื้อกูลกันระหว่างองค์การท้องถิ่นกับชุมชน เราจะมีกลไกในการพัฒนาต่อยอดสมรรถนะของบุคคลในองค์การที่อยู่ในท้องถิ่นไปเป็นภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่นนั้นๆ ได้อย่างไร
References
เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภูมิปัญญาภาคกลาง . กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจํากัด.
เทื้อน ทองแก้ว. (2550). สมรรถนะ (Competency): หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2538). สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่มที่ 19.
Retrieved Feb 14, 2024 from
https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=19&chap=8&page=t19-8-infodetail01.html
จารุวรรณ ขำเพชร, ถวัลย์ ภูถวัลย์, พงษ์ศักดิ์ ขำเพชร, วรรณรัตน์ รัตนวรางค์, อดิศร เสมแย้ม, และ
อนุพันธ์ คำปัน. (2553). โครงการสายน้ำ: สายชีวิตและวัฒนธรรมคนริมน้ำ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญดี บุญญากิจ และคณะ. (2547). การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2553. เอกสารชุดวิชาจิตวิทยาและวิทยาการการเรียนรู้
หน่วยที่ 1-7 เล่ม 1. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Borgatti, S. P., & Foster, P. C. (2003). The Network Paradigm in Organizational Research: A
Review and Typology. Journal of Management, 29(6), 991–1013. https://doi.org/10.1016/S0149-2063(03)00087-4
Borgatti, S. P., & Halgin, D. S. (2011). On Network Theory. Organization Science, 22(5),
-1181. doi:10.1287/orsc.1100.0641
Burt, R. S. (2015). Reinforced structural holes. Social Networks, 43, 149-161.
doi:10.1016/j.socnet.2015.04.008
Csikszentmihalyi, M. (1975). Beyond boredom and anxiety. San Francisco: Jossey-bass.
Csikszentmihalyi, Mihaly. (1990). Flow: The Psychology of Optimal Experience.
Elman, J. L. (2001). Connectionism and language acquisition. In M. Tomasello & E. Bates (Eds.),
Language development: The essential readings (pp. 295–306). Blackwell Publishing.
Maneein, D. (2023). Community-Based Social Entrepreneurship and Rural Livelihood
Improvement. Graduate School of Social Development and Management Strategy. National Institute of Development Administration
Masae, A. (2013). Structural Change and Natural Resource-based Livelihood Adjustment among
Wetland Settlers in Southern Thailand. (1), 57-67.
Offer John. (2019). Herbert Spencer, Sociological Theory, and the Professions. Frontiers in
Sociology, Volume 4, 2019. https://doi.org/10.3389/fsoc.2019.00077
https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fsoc.2019.00077
Ronald S. Burt. (2000). The Network Structure of Social Capital, Research in Organizational Behavior, Volume 22, 2000, Pages 345-423, ISSN 0191-3085, ISBN 9780762306411,
https://doi.org/10.1016/S0191-3085(00)22009-1.
(https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0191308500220091)
Sieweke, J. (2014). Imitation and Processes of Institutionalization — Insights from Bourdieu’s
Theory of Practice. Schmalenbach Bus Rev 66, 24–42 (2014).
https://doi.org/10.1007/BF03396868
Spencer, H. (1860). “The social organism,” in Spencer H (ed.) Essays, 1901, vol. 1
(London: Williams and Norgate), 265–307 (first published in the Westminster Review, January).
Venkatraman S, Venkatraman R. (2018). Communities of Practice Approach for Knowledge
Management Systems. Systems. 2018; 6(4):36. https://doi.org/10.3390/systems6040036
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารบริหารการพัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.