แบบจำลองปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จของธุรกิจการให้บริการรถบรรทุกขนส่งน้ำมันและโลจิสติกส์ ในประเทศไทย

Main Article Content

กาญจนา อินทศร
สุชาติ ปรักทยานนท์
บุรพร กำบุญ
ทิพย์ลาวัลย์ แก้วนิล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จ 2. วิเคราะห์สมการโครงสร้างความสำเร็จและ 3. พัฒนาแบบจำลองปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จของธุรกิจการให้บริการรถบรรทุกขนส่งน้ำมันและโลจิสติกส์ในประเทศไทย โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ของแฮร์ และคณะซึ่งกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ประกอบการ ผู้บริหาร จำนวน 400 กิจการ ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง จำนวน 10 ท่าน ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้จัดการ และหัวหน้างาน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างโดยโปรแกรมลิสเรล   


ผลการวิจัยพบว่า


  1. นวัตกรรมโซ่อุปทาน การดำเนินงานของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ และความสามารถในการให้บริการโลจิสติกส์ มีอิทธิพลทางตรง ทางอ้อม และอิทธิพลรวมของความสำเร็จของธุรกิจการให้บริการรถบรรทุกขนส่งน้ำมันและโลจิสติกส์ในประเทศไทย ซึ่งค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องของโมเดล

  2. ผลการวิเคราะห์มีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Model Fit) มีค่าทดสอบคือ Chi-square = 28.731, df = 28, P = 0.465, CMIN/df = 1.096, GFI = 0.929, CFI = 0.999, AGFI = 0.775, NFI = 0.984, RMR = 0.005 และ RMSEA = 0.016 และแบบจำลองมุ่งเน้นความสำเร็จของธุรกิจการให้บริการรถบรรทุกขนส่งน้ำมันและโลจิสติกส์ มีความสัมพันธ์กันเมื่อพิจารณาค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรของการปรับโมเดล

  3. การพัฒนาแบบจำลองนวัตกรรมโซ่อุปทานสําหรับการดําเนินงาน และความสามารถในการให้บริการโลจิสติกส์ ประกอบด้วย นวัตกรรมโซ่อุปทาน การดําเนินงานของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ความสามารถในการให้บริการโลจิสติกส์ 4 องค์ประกอบ คือ นวัตกรรมโซ่อุปทาน การดําเนินงานของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ความสามารถในการให้บริการโลจิสติกส์ และความสำเร็จของธุรกิจให้บริการรถบรรทุกสินค้าและโลจิสติกส์

Article Details

บท
บทความ

References

จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา. (2556). แนวทางการพัฒนาศักยภาพโลจิสติกส์ของกลุ่มประเทศ ลุ่ม น้ำโขงสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิทยาการจัดการ, 30(2), 81.

นวพล ประสมทอง. (2562). ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของผู้ประกอบธุรกิจโลจิสติกส์ และผลกระทบกลยุทธ์การจัดการโลจิสติกส์ที่มีต่อผลการดําเนินงานของธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศไทย.

ธนิต โสรัตน์ (2560). วิวัฒนการของการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน. วารสารการวิจัยกาสะ ลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 8(2), 13–25.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญ ภานุวัฒน์. (2554). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). การกำหนดดัชนีชี้วัด ความสำเร็จ ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย (พ.ศ. 2561-2565). ฉบับที่ 3 เรียกใช้เมื่อ 25 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.nesdc.go.th.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สํานักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2566). แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทยภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). เรียกใช้เมื่อ 22 สิงหาคม 2566 จาก https://www.nesdc.go.th.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับที่ 13. เรียกใช้เมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2568 จาก https://www.nesdc.go.th.

Cavaco.(2016). Design of a sustainable competitiveness evaluation and executionsystem (SuCEES). (Doctoral dissertation, Universidade Nova de Lisboa).

Daugherty, Chen & Ferrin. (2011). Organizational structure and logistics service innovation. Emerald.com

George and Mallery. (2010). SPSS for Windows Step by Step: A Simple Guide and Reference 17.0 Update. 10th Edition, Pearson, Boston.

Gohil, D., & Thakker, S. V. (2021). Blockchain in supply chain management: A review of efficiency, transparency, and innovation. International Journal of Science and Research Archive, 11(1), 173-181.

Hair Jr., J. F. et al. (1998). Multivariate Data Analysis with Readings. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

George and Mallery. (2010). SPSS for Windows Step by Step: A Simple Guide and Reference 17.0 Update. 10th Edition, Pearson, Boston.

Jose, m. M. K. M. Y., & Botella, l. M. (2014). Trust and IT innovation in asymmetric environments of the supply chain management process. Journal of Computer Information Systems. Retrieved September 7, 2021, from https://www.researchgate.net.

Karia et al. (2015). "Comparison of GPS based TEC measurements with the IRI-2012 model for the period of low to moderate solar activity (2009–2012) at the crest of equatorial anomaly in Indian region. Advances in Space Research, 55(8), 1965-1975.

Li, B & Li, Y (2017). Internet of Things Drives Supply Chain Innovation: A Research Framework. International Journal of Organizational Innovation,9, 71-92.

Liqin, Guangya & Koos. (2009). Sustainable competitive advantage and marketing innovation within firms: A pragmatic approach for Chinese firms. Management Research Review, 33(1), 79-89.

Mandal, & Korasiga (2016). An integrated-empirical logistics perspective on supply chain innovation and performance. Business Theory and Practice, 17(1), 32–45.

Meng et al. (2010). Sua5p is required for telomere recombination in Saccharomyces cerevisiae. Cell Res, 20(4),495-8

Michael Porter. (1990). New global strategies for competitive advantage. Planning Review, 18(3),4-14.

Simon & Honore Petnji Yaya. (2014). Improving Innovation and Customer Satisfaction through Systems Integration. Industrial Management & data Systems, 112(7), 1026-1043.

Suwannathat, Decharin & Somboon Savatdee (2015). Fostering innovation in public organizations in Thailand. International Journal of Organizational Analysis. 23(4).

Wang, Voss, Zhiato & Wang, Z. (2015). Modes of service innovation: a typology. Journal of Industrial Management & Data Systems, 115(7), 1358-1382.

Witmer, H. (2019). Degendering organizational resilience–the Oak and Willow against the wind. Gender in Management: An International Journal, 34(6), 510-528.