ชาติและประชาชนในยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • พระมหาวีระชาติ ปิยวณฺโณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
  • พระมหาธนภัทร อภิชาโน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
  • บานชื่น นักการเรียน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ชาติ, ประชาชน, ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

ในสังคมประชาธิปไตย มีความเป็นจริงของสังคมที่เต็มไปด้วยความคิดเห็นที่แตกต่าง ในอดีตความต่างจะเป็นเรื่องเพศสภาพ ชนชาติ ศาสนา ความเชื่อ แต่ในวันนี้เกิดความแต่กต่างระหว่างวัยในชุดความคิดเกี่ยวกับการตีความหมายเรื่อง “ชาติ” ที่ไม่ตรงกันด้วยความคิดเห็นที่ไม่ตรงกันนี้เอง บ่อยครั้งจึงกลายเป็น “ชนวน” ที่นำไปสู่การทะเลาะเบาะแว้ง ไม่ลงรอยกัน และบางครอบครัวก็ถึงขั้นลอยแพ ตัดขาดลูกหลานที่ “เห็นต่าง” ไปจากตัวเอง เมื่อใดก็ตามที่เราพยายามเข้าใจความขัดแย้งระหว่างวัย เรื่องของ เจเนอเรชัน จึงมักถูกหยิบยกขึ้นมาอธิบายอยู่เสมอ ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะเราเชื่อว่า ยุคสมัยมีส่วนหล่อหลอมตัวตน ความคิด และความเป็นเรา ไม่มากก็น้อย ซึ่งคนต่างเจเนอเรชันก็ย่อมมีความคิด/ความเชื่อพื้นฐานบางอย่างที่ “ต่างกัน” เป็นธรรมดา การทำความเข้าใจในแต่ละช่วงวัย จึงมีความสำคัญต่อการดำรงอยู่ของสังคม เราก็ต้องเรียนรู้ที่จะเคารพความรู้สึกของคนในสังคมเดียวกันที่มีความหลากหลายช่วงวัย ว่าไม่ได้เหมือนกับเราทุกคน จึงเป็นการเรียนรู้ที่จะเคารพความรู้สึกของมนุษย์ด้วยกันจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เราอยู่ร่วมกันได้

References

กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ. (2531). หลักประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คึกฤทธิ์ ปราโมช ม.ร.ว., และชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2518). ประชาธิปไตยของชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ.

จรูญ สุภาพ. (2528). ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจเปรียบเทียบ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

จิรโชด วีระสัย. (2540). รัฐศาสตร์ทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชัยวัฒน์ โยธี. และคณะ. (2565). ความคิดทางการเมืองของคนรุ่นใหม่่ (Gen - Z) กับการใช้สิทธิ์เลือกตั้งท้องถิ่น : ศึกษากรณีการเลือกตั้งองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี. วารสารวิชาการคณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 181.

ชูวงศ์ ฉายะบุตร. (2535). ขยายฐานประชาธิปไตยสู่ปวงชน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: กรมการปกครอง.

เติม วิภาคย์พจนกิจ. (2542). ประวัติศาสตร์อีสาน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธเนศ วงศยานนาวา. (2562). เมื่อใดจึงเป็นชาติ (When is a nation?). กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์.

ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2562). สังคมวิทยาดิจิทัล : แนวคิดและการนำไปใช้. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 6,(1), 120.

ธานินทร์ กรัยวิเชียร. (2518). ระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: โรงเรียนสงครามจิตวิทยา

นันทิพัฒน์ พรเลิศ. (2564). เมื่อใดจึงเป็นชาติไทย เมื่อแห่งหนใดชาติไทย (จะเริ่ม) เป็นของประชาชน. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์.

เนตรภัทร อ่วมเครือ และวัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2562). ทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในตำบลบ้านกุ่ม อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1), 115.

พระครูวินัยธรอธิษฐ์ สุวฑฺโฒ และคณะ. (2562). คนรุ่นใหม่กับประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน. วารสารพุทธสังคมวิทยาปริทรรศน์, 5(2), 100-102.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณทิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คพับเคชั่นส์.

เสน่ห์ จามริก. (2530). อยู่เมืองไทย: รวมบทความทางสังคมการเมือง เพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตร์ตราจารย์ เสน่ห์ จามริก ในโอกาสอายุครบ 60 ปี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อมร รักษาสัตย์และคณะ. (2539). ประชาธิปไตย : อุดมการณ์ หลักการ และแบบอย่างการปกครองหลายประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมร รักษาสัตย์. (2541). การศึกษากับการพัฒนาประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

กองบรรณาธิการ. (2566) ชาติคืออะไร? กับ ความคิดแบบสมัยใหม่. เรียกใช้เมื่อ 07 กรกฎาคม 2566. จาก. https://www.silpa-mag.com/on-view/art-and-culture-club/article _ 111371.

บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์. (2556). ความเป็นชาติ : รัฐชาติและชาตินิยมในยุคโลกาภิวัตน์. เรียกใช้เมื่อ 07 กรกฎาคม 2566.จาก http://hadesworld-boonsong.blogspot.com /2013/ 10/blog-post_ 6048.

วิกิพีเดีย. (2566). ชาติ. เรียกใช้เมื่อ 07 กรกฎาคม 2566, จาก https:// th.wikipedia.org/wiki/ชาติ.

McKenna. G. (1994). The Drama of Democracy: America Government and Politics. Connecticut: DPG The Dushkin Publishing Group.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-29