บทวิเคราะห์งานวิจัยเรื่องแนวโน้มบทบาทพระสงฆ์กับการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้าสู่วิถีปฏิบัติในสังคมไทย

Main Article Content

เกษฎา ผาทอง
ธีรภัทร์ เสรีรีงสรรค์

บทคัดย่อ

บทวิเคราะห์งานวิจัยเรื่อง “แนวโน้มบทบาทพระสงฆ์กับการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้า” เป็นการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการ “ญาณวิทยา” ใช้คำถามเชิงระเบียบวิธีวิทยาบนฐานคิดปรัชญาพื้นฐานการวิจัย และทฤษฎีอธิบายความรู้ที่ได้ว่าเป็นจริงตามกระบวนทัศน์ทางเลือกหรือปรากฏการณ์นิยม โดยงานวิจัยชิ้นนี้มีขอบข่ายของการศึกษาซึ่งเป็นไปตามระเบียบวิธีวิจัยของการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้เขียนได้ประเมินงานวิจัยแล้วว่ามีความสอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในสังคมไทยจึงได้นำมาถอดบทวิเคราะห์สู่การสังเคราะห์ ตกผลึกเป็นข้อสรุป นำมาสู่การใช้ปฏิบัติจริงในสังคมไทยด้วยวิธีนิรนัยหรืออุปนัยหรือผสมผสานกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนาและองค์การศาสนาต่าง ๆ ในประเทศไทย. ม.ป.ท.

กรมการศาสนา. (2560). แนวทางการดำเนินงานชุมชนคุณธรรมและขับเคลื่อนด้วยพลัง “บวร”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กีรวุฒิ กิติยาดิศัย. (2556). สิทธิเสรีภาพของพระภิกษุสงฆ์. ใน รายงานการฝึกอบรมหลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.

เกษฎา ผาทอง. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคมไทยภายใต้กระบวนทัศน์หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา. วารสารธรรมทรรศน์, 16 (2), 263-264.

พระครูปลัดไพฑูรย์ เมธิโก (มหาบุญ). (2557). พรหมวิหาร : ธรรมแนวทางการแก้ไขความขัดแย้งของสังคมไทย, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1 (2), 56.

พระภูริพัฒน์ หอมแก้ว. พระสงฆ์กับการเมืองไทย. เรียกใช้เมื่อเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2564 จากhttps://www.baanjomyut.com/library_2/buddhist_monks_in_thai_politics/

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย.

วรรณไชย มะยงค์. (2558). การบริหารกิจการคณะสงฆ์โดยหลักทศพิธราชธรรมในจังหวัดชุมพร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และศิลปะ, 8(1), 352.

วิสุทธิ์ ใบไม้. (2538). สถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

สัญญา เคณาภูมิ. (2560). อิทธิพลของอรรถประโยชน์ทางการเมืองที่ส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 5 (2), 22.

สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2554). การพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

Bertrand, D. J. (1991). Defining and Measuring Political, In Democracy and Human Rights in Developing Countries. London: Lynne Rienner.

Charnow, A. B. & Vallasi, G. A. (1993). “Democracy” in the Illustrated” The Coliumbia Encyclopedia. (5th ed.). Edited by Babara A. Charnow, A. and George Vallasi. Coliumbia: Coliumbia University.

Copelend, L. & Lawrence, L. (Eds.). (1985). The World’s Great Speeches. (2nd ed.) New York: Dover.

Easton, D. (1960). The Political System. New York : Alfred A. Knoff.

Jerrold Schecter. (1967). The new face of Buddha: Buddhism and Political power in Southeast Asia. London:Victor Gollancz LTD.

Lasswell, D. Harold & Kaplan, Abraham. (1970). Power and Society. New Haven : Yale University.

Neumann, S. (1995). Modern Political Parties. University of Chicago Press (December 1955).

Ranny, A. (1972). Essay on the Behavioral Study of Politics. Urbana: University of Illinois Press.

Wolin, S. (1960). Politics and vision : continuity and innovation in western political thought. New Jersey : Princeton.