ผลกระทบจากการใช้ปุ๋ยเคมีทางการเกษตร

ผู้แต่ง

  • สุภาวดี หนูสิน

คำสำคัญ:

ปุ๋ยเคมี, เกษตรกรรม, ผลกระทบจากการเกษตร

บทคัดย่อ

การทำการเกษตรในปัจจุบันนิยมใช้ปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูก เนื่องจากมีธาตุอาหารสูง โดยมีธาตุอาหารหลักคือ NPK (ไนโตรเจน =N ฟอสฟอรัส =P และโพแทสเซียม =K) เกษตรกรสามารถเลือกซื้อสูตรปุ๋ยที่ต้องการได้ ทำให้ได้ผลผลิตตามต้องการและสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ในวงกว้าง ซึ่งปุ๋ยเคมีที่ใช้ในประเทศไทยจะต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เช่น ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ มาเลเซีย และจีน เป็นต้น ทำให้ปุ๋ยเคมี
มีราคาสูง เกษตรกรจึงมีต้นทุนในการทำการเกษตรที่สูงและอาจส่งผลต่อภาระหนี้สินของเกษตรกรในภาพรวม นอกจากนี้ การใช้ปุ๋ยเคมีในปริมาณมาก หรือขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้ปุ๋ยเคมีจะส่งผลกระทบต่อดิน ทำให้โครงสร้างของดินเสื่อมลง ทำให้พืชไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควรซึ่งส่งผลต่อสารอาหารที่ผู้บริโภคจะได้รับ และ
การใช้ปุ๋ยเคมียังก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อีกด้วย การศึกษาผลกระทบจากการใช้ปุ๋ยเคมี
ทางการเกษตร สามารถช่วยให้เกษตรกรเกิดความตระหนักในผลกระทบที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมี มีการ
ทำการเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถสร้างความยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหารได้

 

References

Wuepper, D., Le Clech, S., Zilberman, D., Mueller, N., & Finger, R. (2020). Countries influence the trade-off between crop yields and nitrogen pollution. Nature Food, 1, 713–719.

กรมพัฒนาที่ดิน. (ม.ป.ป.). พื้นที่เขตเกษตรกรรมประเทศไทย. สืบค้น มีนาคม 31, 2564 จาก https://webapp.ldd.go.th/lpd/node_modules/img/Download/zonmap/zonmap2/agri_zone_th.pdf

กรมพัฒนาที่ดิน. (2564). ปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย. สืบค้น มีนาคม 1, 2564 จาก

http://oss101.ldd.go.th/web_soils_for_youth/s_fertilizer2.htm

กรมวิชาการเกษตร. (2564). ปริมาณการนำเข้าปุ๋ยเคมี. สืบค้น มีนาคม 31, 2564 จาก https://www.oae.go.th/view/1/%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95/TH-TH

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2559). การจัดการดินและปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ. สืบค้น มีนาคม 12, 2564 จาก http://www.ppsf.doae.go.th/publication/soil_management_and_fer/P%2014-C.pdf

ชิดหทัย เพชรช่วย. (2560). สถานการณ์การใช้สารเคมีการเกษตรบริเวณภมูิภาคลุ่มน้ำโขงตอนล่าง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 19(1), 111-122.

นรินทร์ ตันไพบูลย์. (2563). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2563-2565: อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี. สืบค้น มีนาคม 1, 2564 จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/chemicals/chemical-fertilizers/io/io-chemical-fertilizers-20

พงษ์นาถ นาถวรานันต์. (2559). การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เพื่อการผลิตตะไคร้. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 (น. 1877- 1886.). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

รัตนาภรณ์ คชวงศ์, แสงดาว เขาแก้ว, สุกัญญา แย้มประชา, และธนูชัย กองแก้ว. (ม.ป.ป.). การใช้ปุ๋ยอินทรีย์

ชนิดต่างๆ ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อคุณภาพผลผลิตหน่อไม้ฝรั่งและสมบัติทางเคมีของดิน. กรุงเทพฯ: คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วิฑูรย์ ปัญญากุล. (2547). เกษตรยั่งยืน วิถีการเกษตรเพื่ออนาคต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสายใยแผ่นดิน.

ศุภกาญจน์ ล้วนมณี. (2559). การสร้างธนาคารคาร์บอนในพื้นที่ปลูกพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน. สืบค้น มีนาคม 1, 2564 จาก https://www.doa.go.th/research/showthread.php?tid=2383&pid=2401

หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์. (2551). ผลกระทบหลังการใช้ปุ๋ยเคมีในภาคเกษตรของไทย. สืบค้น มีนาคม 1, 2564 จาก http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=7&ID=61

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). สถิติการเกษตรของประเทศไทยปี 2563. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สมพร ดำยศ, เปรมฤดี ดำยศ, และจินารัตน์ สายแก้ว. (2561). การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ที่มีต่อการเติบโตและผลผลิตของข้าวโพดหวานในชุดดินพัทลุง. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร, 2(1), 72-80.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2564). แนวทางลดปล่อยคาร์บอนจากปุ๋ย. สืบค้น ธันวาคม 31, 2564 จาก https://warning.acfs.go.th/th/early-warning/view/?page=8564

สําราญ พิมราช, ถวัลย เกษมาลา, และทัณฑิกา มุงคุณคําชาว. (2559). ผลของการใชปุยเคมีและปุยอินทรีย

ชนิดตางๆ ตอการเพิ่มผลผลิตและขนาดหัวของแกนตะวัน (Helianthus tuberosus L.). วารสารเกษตรพระวรุณม, 13(2), 1-11.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29