การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

ผู้แต่ง

  • สมภพ ระงับทุกข์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การเมือง, การปกครอง, ประชาธิปไตย

บทคัดย่อ

ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งพลเมืองเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยและเลือกผู้ปกครองซึ่งทำหน้าที่ออกกฎหมาย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ การตัดสินว่าผู้ใดเป็นพลเมืองบ้างและการแบ่งปันอำนาจในหมู่พลเมืองเป็นอย่างไรนั้นมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาและแต่ละประเทศเปลี่ยนแปลงในอัตราไม่เท่ากัน นอกจากการเลือกตั้งแล้ว ความคิดที่เป็นรากฐานของประชาธิปไตย ได้แก่ เสรีภาพในการชุมนุมและการพูด การไม่แบ่งแยกและความเสมอภาค สิทธิพลเมือง ความยินยอม สิทธิในการมีชีวิตและสิทธิฝ่ายข้างน้อย นอกจากนี้ ประชาธิปไตยยังทำให้ทุกฝ่ายตระหนักถึงผลประโยชน์ของตนและแบ่งอำนาจจากกลุ่มคนมาเป็นชุดกฎเกณฑ์แทน

References

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2564). รัฐศาสตร์ ทฤษฎี แนวคิด ปัญหาสำคัญ และแนวทางวิเคราะห์การเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

พรเศรษฐีวฒิุ ปัญญาอิสกุล. (2564). ความหมายการเมืองการปกครอง. เรียกใช้เมื่อ 1 เมษายน 2565 จาก https://sites.google.com/site/pisitsuriyachan/1-1-khwam-hmay-karmeuxng-kar-pkkhrxng/1-1-khwam-hmay-karmeuxng-kar-pkkhrxng

Heywood. (2007). Politics. (3rd ed.). New York: Palgrave macmillan.

James Penny. (1884). Public Policy – Making : Introduction. 2nd. New York : Houghton Mifflin Company.

Shively, W .P. (2008). Power & choice: An introduction to political science. (11th ed.). Boston: McGraw–Hill.

Watkins, Frederick. (1970). Democracy. Encyclopædia Britannica : William Benton.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-26