การใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความทางวิชาการเรื่อง “การใช้หลักพรหมวิหารธรรมในการเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่น” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาค้นคว้า เอกสาร งานวิจัย หนังสือ ตำรา พจนานุกรม ตลอดถึงคัมภีร์ในศาสนาต่าง ๆ ทั้งภาษาไทย-อังกฤษ เพื่อให้บุตรเป็นคนดี มีความสุข และประสบความสำเร็จ ดังนี้ 1) ควรมีเมตตา มีความรัก ให้กับบุตร 2) กรุณา ไม่ว่าบุตรจะเป็นเด็กดี หรือน่ารักแค่ไหน ก็ยังทำผิดพลาดได้ง่าย ๆ แทนที่พ่อแม่จะโกรธ ควรแสดงความสงสาร เห็นอก เห็นใจ และร่วมกันหาวิธีแก้ไข เพื่อให้บุตรมีกำลังใจทำสิ่ง ๆ นั้นได้ดีขึ้น 3) ควรมีมุทิตา ยินดีที่เขาประสบความสำเร็จ แม้จะเป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ตาม และ 4) ควรมีอุเบกขา การวางใจเป็นกลาง อย่าเปรียบเทียบบุตรกับเด็กคนอื่น ๆ และ อย่าเปรียบเทียบบุตรคนพี่กับบุตรคนน้อง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
แก้ว ชิตตะขบ. (2547). รวมวิชาธรรมศึกษา ชั้นตรี. กรุงเทพมหานคร: การศาสนา.
จุไรรัตน์ แสนพงษ์. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบแผนการอบรมเลี้ยงดูของมารดาสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดากับความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กก่อนวัยเรียน. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยมหิดล.
เฉลิมศรี ตั้งสกุลธรรม. (2544). การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบของการอบรมเลี้ยงดูและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลของเด็กวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาให้คำปรึกษา. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน อรพินทร์ ชูมชม และงามตา วินทานนท์. (2528). ปัจจัยทางจิตวิทยานิเวศที่เกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูของมารดาไทย. รายงานการวิจัยฉบับที่ 32. มหาวิทยาลัยศรีนครนทรวโรฒ.
ดวงเดือน มูลกลาง. (2546). การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของผู้ปกครองโรงเรียนบ้านบวก อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ทัดดาว ลิมพะสุด. (2543). แบบแผนการอบรมเลี้ยงดูบุตร และสัมพันธภาพในครอบครัว. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พระเทพดิลก. (2547). ศาสนาประจำชาติ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย.
พระธรรมปิฎก. (2546). สู่การศึกษาแนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร:กระทรวงศึกษาธิการ.
พัชชา เจิงกลิ่นจันทร์. (2557). กระบวนการปรับตัวและการอบรมเลี้ยงดูบุตรของแม่วัยรุ่นที่ต้องดูแลบุตรเพียงลำพังกรณีศึกษา : ผู้ใช้บริการจากสหทัยมูลนิธิ. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 20(1), 73-90.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วราภรณ์ รักวิจัย. (2540). การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: แสงศิลป์การพิมพ์.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช. (2543). หลักพระพุทธศาสนา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: ชวนพิมพ์.
สะอาด ศรีวรรณ, สัญญา เคณาภูมิ และภักดี โพธิ์สิงห์. (2560). ความเข้มแข็งทางสังคมบนฐานสถาบันครอบครัว. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา, 4(2), 93-111.
สุชล เพ็งพันธุ์, อภิวัฒชัย พุทธจร และพระมหาจำนงค์ สิริวณฺโณ (ผมไผ). (2562). การกล่อมเกลาครอบครัวตามหลักทิศเบื้องหน้า. วารสารปัญญาปณิธาน, 4(2), 36-49.
อำไพพรรณ ปัญญาโรจน์. (2545). การอบรมเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพมหานคร: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏจันทร์เกษม.
Rubin, R. (1967). Attainment of the maternal role: Part II. Models and referents. Nursing Research, 16(4), 342-346.