พฤติกรรมนักท่องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ

Main Article Content

บุญเพ็ง สิทธิวงษา

บทคัดย่อ

การที่จะพัฒนาประเทศนั้นมนุษย์มีส่วนสำคัญในการปฏิบัติในฐานะเป็นผู้ที่อาศัยและเป็นผู้ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเป็นอย่างมากทั้งการแสดงออกมาในหลากหลายบทบาทและหน้าที่ กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญกับสิ่งเร้าหรือสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งทำให้เกิดการแสดงออกถึงอาการต่าง ๆ ส่วนสิ่งเร้าที่มากระทบแล้วก่อให้เกิดพฤติกรรมก็อาจจะเป็นสิ่งเร้าภายในและสิ่งเร้าภายนอกหรือสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่สามารถสัมผัสได้ นอกจากนี้สิ่งเร้าที่มีอิทธิพลที่จะจูงใจให้บุคคลแสดงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เป้นผุ้นำรายได้หลักสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจที่พึงปรารถนานำมาใช้เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาให้น้อยลง ทั้งนี้จำเป็นอย่างมากที่จะนำพฤติกรรมนักท่องเที่ยวกับการพัฒนาประเทศ เพื่อปรับบทบาททางเศรษฐกิจของประเทศในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าของประเทศอย่างยั่งยืน เพราะสังคมในปัจจุบันนั้นถือว่านักท่องเที่ยวมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาประเทศในกระแสโลกาภิวัฒน์ และยังมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของประชากรในประเทศนั้น ๆ ให้มีความกินดี อยู่ดี มีสุข และมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2557). แผนปฏิบัติการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแห่งชาติ.กรุงเทพมหานคร: กองอนุรักษ์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2558). จุลสารวิชาการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. กรุงเทพมหาคร: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

กองอนุรักษษการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2545). โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. เอกสารการประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพมหานคร: กองอนุรักษ์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

โกศล วงศ์สวรรค์ และ เลิศลักษณ์ วงศ์สวรรค์. (2551). สุขภาพจิต (Mental Health). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ บริษัท ธเนศวร พริ้นติ้ง (1999) จำกัด).

โกวทิย์ พวงงาม. (2552). การปกครองท้องถิ่นไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

คัดคนางค์ มณีศรี. (2555). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ช่อระกาการพิมพ์.

จินตวีร์ เกษมศุข. (2554). การสื่อสารกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จีระ หงส์ลดารมภ์. (2555). ทุนมนุษย์ของคนไทยรองรับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: เอเชียแปซิฟิคคอนซัลแตนท์.

ณัฐวุฒิ โรจน์นิรุตติกุล. (2554). บทความปริทัศน์การจัดการทุนมนุษย์ : กลยุทธ์ทางการแข่งขันที่ยั่งยืน. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 10(2).

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีระภัทรา เอกผาชัยสวัสดิ์. (2553). ชุมชนศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นนทรีย์ วงษ์วิจารณ์ และ สุปาณี สนธิรัตน. (2556). ทัศนคติต่อการเป็นผู้สูงอายุการดูแลตนเองทักษะทางสังคมและความผาสุกในชีวิตของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุอำเภอกบินทร์บุรจังหวัดปราจีนบุรี. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 39(2), 66.

นราธิป ศรีราม. (2557). แนวคิดเกี่ยวกับการจัดบริการสาธารณะของท้องถิ่น. เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดบริการสาธารณะของท้องถิ่น หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปัญญา ทองนิล. (2553). รูปแบบการพัฒนาสมรรถภาพการสอนโดยการบูรณาการแบบสอดแทรกสำหรับนักศึกษาครูเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์. ใน วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พิมพ์วิภา ตราชูวณิช ณัฐพงศ์ พันธ์น้อย. (2565). ปริทัศน์บทความวิจัยเรื่อง : พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวคุณภาพในบริบทประเทศไทย. สาระศาสตร์ ฉบับที่ 3/2565 – 497-508.

พรศิริ พฤกษะศรี, วิภาวี คงอินทร์ และ ปิยะนุช จิตตนูนท์. (2551). ลีลาศในผู้สูงอายุสงขลานครินทร์. เวชสาร 26 (4), 323.

มธุรส สว่างบำรุง. (2555). จิตวิทยากับพฤติกรรมของมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

วิพรรณ ประจวบเหมาะ. (2556). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2555. นนทบุรี: เอสเอส พลัส มีเดีย จำกัด.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2553). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร: สามลดา.

อัญชลี สมใจ. (2563). พฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารศิลปะศาสตร์ปริทัศน์, 15(2), 13-27.