ขบวนการทางการเมือง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาขบวนทางการเมืองเป็นคำจำกัดความของกลุ่มบุคคลที่รวมตัวกันเพื่อดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งที่หวังผลทางการเมืองและเกี่ยวข้องกับการทำงานไม่ว่าจะเป็นในด้านนโยบายสาธารณะหรือขั้นตอนการดำเนินนโยบายต่างๆของรัฐ ขบวนการทางการเมืองจึงเป็นอีกมิติหนึ่งของการมีส่วนร่วมในทางการเมืองของภาคส่วนต่างๆที่มาในรูปแบบของกลุ่มบุคคลที่ร่วมตัวกัน โดยนักปรัชญาทางด้านรัฐศาสตร์ที่มีอยู่ทั้งในไทยและต่างประเทศที่พยายามเสนอแนวคิดทฤษฎีต่างๆเพื่อนำมาแก้ไขปรับปรุงขบวนการทางการเมือง รวมไปถึงกลุ่มคนและการใช้หลักการและวิธีการในการกดดันรัฐและขบวนการทางการเมือง เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการนั้นก็คือผลประโยชน์ที่มากมายมหาศาล ซึ่งจะได้ทำการศึกษาต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จักรกฤษณ์ จันทร์ดำ. (2533). รัฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิทยา ชินบุตร. (2559). การเคลื่อนไหวทางการเมืองของภาคประชาชนสู่การจัดตั้งพรรคการเมือง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(3), 91.
Habermas, J. (1981). The Theory of Communicative Action: Reason and the rationalization of society. Boston : Beacon Press.