ระบบราชการ

Main Article Content

สรอรรถ ทาปลัด
ธเนศพล สารผล
อำพล อุตตมะศรีสุข
รวีโรจน์ สุรสิทธิ์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่อง “ระบบราชการ” มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความหมายโครงสร้างและหน้าที่ของระบบราชการ ซึ่งระบบราชการ นับว่าเป็นระบบที่เกิดขึ้นในสังคมและได้มีต้นแบบมาจากการทำหน้าที่ การปกครอง การบริหารงาน ระบบราชการจึงเป็นกลไกลหลักในการวางแผนและออกนโยบาย ไม่ว่าจะเป็นในทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม หรือในต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับระบบราชการและระบบราชการยังมีความสำคัญเป็นอย่างมากในสังคมบ้าง ในประเทศบ้าง เพราะระบบราชการมีขอบข่ายกว้างขวางครอบคลุมกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของประชาชน และระบบราชการนั้นสามารถตีความหมายได้ออกหลายประการ ตามทัศนคติของแต่ละคน ระบบราชการไม่ใช่ระบบที่สมบูรณ์ไปหมดทุกอย่าง จึงยังต้องมีข้อดีและข้อเสียของระบบอยู่ แต่ถึงอย่างนั้นระบบราชการก็ยังเป็นระบบที่สำคัญของสังคมและประเทศชาติอยู่

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ข้อมูลความรู้ การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ งานฝ่ายบุคคล HR HRM. (2565). ความหมายของระบบราชการ. เรียกใช้เมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566 จากhttps://www.thaihrwork.com/ความหมายของระบบราชการ/

จารุพงษ์สกุล จิณะโชฒิกุล. (2550). ความรู้เกี่ยวกับราชการไทยและการเป็นข้าราชการ. น่าน: วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน.

วิชาญ สัดซำ. (2559). การบริหารแบบระบบราชการกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการและพนักงาน อำเภอโพนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด. ใน วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกริก.

สถาพร วิชัยรัมย์. (2564). การพัฒนาระบบราชการไทย. เรียกใช้เมื่อ 8 มีนาคม 2566 จาdhttps://pa.bru.ac.th/2021/10/08/development-bureaucracy/

หนุ่มหน้ามน คนหน้าลาว. (2553). ปัญหาของการบริหารราชการไทยและแนวทางการแก้ไข. เรียกใช้เมื่อ 8 มีนาคม 2566 จาก https://www.gotoknow.org/posts/387212

Max Weber. (1974). ทฤษฎีระบบราชการ. เรียกใช้เมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566 จากhttps://kantacandidate.blogspot.com/2012/02/bureaucracy-max-weber.html