พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเด็กชายขอบ
Main Article Content
บทคัดย่อ
สถานการณ์และปัญหาของเด็กไทยในขณะนี้ กำลังเผชิญกับความเสี่ยงอย่างมากมาย อันเกิดจากสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมอันตรายที่ล้อมรอบตัวเด็ก เด็กจำนวนมากที่ซึมซับพฤติกรรมที่รุนแรง สื่อลามก อนาจาร การเสพยาเสพติด การมีเพศสัมพันธุ์ก่อนวัยอันควร อยู่ในแหล่งมั่วสุมพฤติกรรมเหล่านี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตร่วมสมัยของเด็กที่เติบโตขึ้นทุกวัน ถือว่าเป็นปัญหาสำคัญที่รัฐต้องรีบแก้ไข อย่างเร่งด่วน เนื่องจากโครงสร้างหลักของการผลิตคนไทยพันธุ์ใหม่ ในยุคทุนนิยม โลกาภิวัฒน์ บริโภคนิยม เพศเสรี ยาเสพติด กำลังกลายเป็นวิถีชีวิตพื้นฐาน ของเด็กไทยเข้าไปทุกที เด็กบางคนก็ใช้การตัดสินปัญหาด้วยความรุนแรง เพราะขาดการมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์นั่นเอง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กฤตยา อาชวนิจกุล. (2554). การจัดระบบคนไร้รัฐในบริบทประเทศไทย. ใน สุรีย์พร พันพึ่ง และมาลี โสดสันภูวรรณ์ (บรรณาธิการ). จุดเปลี่ยน ประชากร จุดเปลี่ยนสังคมไทย (หน้า 103-126). นครปฐม: สำนักพิมพ์ประชากรและสังคม.
กฤนกรรณ สุวรรณกาญจน์. (2554). Prachatai Eyes View: ‘คนไทย’ ในป่าแก่งกระจาน. `เรียกใช้เมื่อ 12 มิถุนายน 2561 จาก http://prachatai.com/eyesview/2011/09/37030
ชูพินิจ เกษมณี. (2559). นโยบายการอพยพชาวเขา ทางออกในเขาวงกต: กรณีศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยชาวเขา.
ณัฐดนัย ใหม่ซ้อน. (2553). นักวิชาการชี้ “แบบจำลองคดีโลกร้อน” ไร้คุณภาพ จ่อยื่นศาลปค. เพิกถอน 28 พ.ค. นี้. ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา. เรียกใช้เมื่อ 6 มิถุนายน 2561, จาก สำนักข่าวอิศรา เว็บไซต์: http://www.isranews.org/ข่าว/ 61-ข่าว/6851—28-.
ประสาท มีแต้ม. (2555). ข้อโต้แย้งบางประการใน “แบบจำลองคดีโลกร้อน”. เรียกใช้เมื่อ 6 มิถุนายน 2555, จากhttp://www.landreformthai.net/index.php?option=com_content&view= article&id=359:2012-02-13-15-27-02&catid=92:2010-04-03-04-10-52&Itemid=30
มูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิม. (2554). โครงการการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของคดีความมั่นคง ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ระยะที่ 4 กิจกรรมจัดทำเวทีเพื่อรับฟังความเห็นการร่างรายงาน). [เอกสารอัดสำเนา].
ศรินธร รัตน์เจริญขจร. (2552). บันทึกข้อเท็จจริง: กรณีการซ้อมทรมานอิหม่ามยะผา [เอกสารส่วนบุคคล]. การอบรมเรื่องความยุติธรรม ทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการปกครองโดยหลักนิติธรรม: ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์ศึกษาการย้ายถิ่น สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2554). ชีวิตจริงที่ไม่ถูกมองเห็นของเหยื่อการค้ามนุษย์ ในประเทศไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สกาวเดือน บุญงาม. (2551). ‘ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ’: ชีวิตที่ได้เลือกหรือถูกเลือก.ในประสบการณ์การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของ ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ. รายงานคณะอนุกรรมการด้านสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
สมจิต คงทน. (2554). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ฯ ฟ้องคดีคิดค่าเสียหาย ทำให้โลกร้อนกับเกษตรกร. เรียกใช้เมื่อ 6 มิถุนายน 2561, จาก เครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย เว็บไซต์: http://www.landreformthai.net/index.phpption=com_content&view=article&id=63:2010-05-19-09-44-22&catid=92:2010- 04-03-04-10-52&Itemid=30
สุริชัย หวันแก้ว. (2556). กระบวนการกลายเป็นคนชายขอบ. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ.
อรสม สุทธิสาคร. (2551). เจ้าชายนักประพันธ์: เบื้องหลังฉากชีวิตของ ม.จ.อากาศดำเกิง รพีพัฒน์. กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้า.
Allport, Gordon. (1935). "Attitudes," in A Handbook of Social Psychology, ed. C. Murchison. Worcester, MA: Clark University Press, 789–844.